picture
การสำรวจสภาวะสุขภาพอนามัยของประชาชนไทย
โดยการตรวจร่างกายครั้งที่ 3 พ.ศ. 2546 - 2547


ข้อมูลข่าวสารเป็นองค์ประกอบสำคัญอย่างยิ่งของการกำหนดนโยบาย แผนงานและการประเมินผลงานทุกระบบ โดยเฉพาะระบบสุขภาพที่ต้องใช้ข้อมูลที่มีความแม่นยำถูกต้องครอบถ้วน และทันเวลา ระบบข้อมูลตามรายงานจากสถานบริการทุกระดับที่รวบรวมเป็นรายเดือนและรายปีนั้นเป็นข้อมูลจากผู้ป่วยเพียงส่วนเดียวซึ่งไม่เพียงพอต่อการกำหนดนโยบายและแผนงานระยะยาวของประเทศ  สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ร่วมกับสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข สถาบันการศึกษาทั้งในกรุงเทพฯและภูมิภาค ได้ร่วมกันสร้างฐานข้อมูลสถานะสุขภาพของคนไทยอย่างต่อเนื่อง โดยมีการสำรวจสภาวะสุขภาพอนามัยคนไทยมาแล้ว 2 ครั้ง และครั้งที่ 3 ได้ดำเนินการในปี 2547 โดยการตรวจร่างกาย เจาะเลือด สัมภาษณ์กลุ่มประชากรตัวอย่างเกือบ 40,000 ราย ครอบคลุมทุกภาคทั้งในเขตเมืองและชนบท ข้อมูลทั้งหมดได้รับการวิเคราะห์ และรายงานผลเบื้องต้นตามที่ปรากฎในรายงานฉบับนี้และจะมีการวิเคราะห์เชิงลึกเพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอื่นๆ เพื่อตีพิมพ์เป็นบทความทางวิชาการเผยแพร่ในโอกาศต่อไป

จัดทำโดย  สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข , สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ , กระทรวงสาธารณสุข
สนับสนุนโดย   สำนักงานพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ , สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
สารบัญรายงาน

  ส่วนนำรายงาน (คำนำ , สารบัญ , บทสรุปสำหรับผู้บริหาร)
  บทที่ 1 บทนำ
  บทที่ 2 ระเบียบวิธีวิจัย
2.1 ประชากรเป้าหมาย การกำหนดตัวอย่าง และการสุมตัวอย่าง
2.2 แบบสอยถาม
2.3 การเก็บรวบรวมข้อมูล
2.4 การควบคุมคุณภาพการเก็บรวบรวมข้อมูล
2.5 การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
2.6 การสร้างฐานข้อมูล ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล
2.7 การตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล และประมวลผล
2.8 การวิเคราะห์ข้อมูล
  บทที่ 3 ลักษณะทางประชากร สังคม และเศรษฐกิจ
3.1 โครงสร้างอายุและเพศของประชากรตัวอย่าง
3.2 การได้รับการศึกษา
3.3 สถานภาพสมรส
3.4 สถานภาพเชิงเศรษฐกิจ
3.5 รายได้
3.6 ขนาดครอบครัวและการรับภาระสมาชิกในบ้าน
  บทที่ 4 ปัญหาสุขภาพและพฤติกรรมเสี่ยง
4.1 พฤติกรรมเสี่ยง
4.2 ความชุกของโรค ปัญหาสุขภาพที่พบบ่อยและระดับบริการที่ได้รับ
4.3 ความชุก และชนิดของยาที่ใช้เป็นประจำ
4.4 การบาดเจ็บ
  บทที่ 5 อนามัยเจริญพันธุ์
5.1 สถานภาพและปัญหาอนามัยเริญพันธุ์
5.2 การได้รับบริการการตรวจคัดกรองมะเร็งในวัยสตรีวัย 15 - 59 ปี
5.3 การใช้ถุงยางอนามัยเพื่อมีเพศสัมพัธ์
  บทที่ 6 สภาวะสุขภาพของประชากรสูงอายุไทย
6.1 ลักษณะทางกายภาพของผู้สูงอายุไทยที่เป็นตัวอย่าง
      6.2.1 อัตราพึ่งพาในกิจวัตรประจำวัน
      6.2.2 สภาวะการมีโรคประจำตัวหลายโรค
      6.2.3 อุบัติเหตุจากการหกล้ม
6.2 ความสามารถในการทำหน้าที่
6.3 โครงสร้างบ้านและการดัดแปลงเพื่อป้องกันอุบัติเหตุ
6.4 ฟันและการบดเคี้ยว
6.5 การตรวจคัดกรองสภาพสมอง
6.6 หลักประกันในที่อยู่อาศัย
6.7 หลักประกันทางเศรษฐกิจ
  บทที่ 7 สรุปและอภิปรายผลการสำรวจ
7.1 สรุปและอภิปรายผลการสำรวจ
7.2 บทเรียนที่ได้รับจากการสำรวจสภาวะสุขภาพอนามัยของประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกาย ครั้งที่ 3
7.3 ข้อเสนอเพื่อพัฒนาระบบการสำรวจสุขภาพอนามัยของประชากรโดยการตรวจร่างกายในอนาคต
  ภาคผนวก ข้อมูลสถิติรายเขตสาธารณสุข
- ภาคผนวกบที่ 3
- ภาคผนวกบที่ 4
- ภาคผนวกบที่ 5
- ภาคผนวกบที่ 6