picture
รายงานการสาธารณสุขไทย 2551 - 2553

บรรณาธิการ  นายแพทย์สุวิทย์ วิบุลผลประเสริฐ
ผู้ช่วยบรรณาธิการ  นายแพทย์ศุภกิจ ศิริลักษณ์ , นางสาวปาณบดี เอกะจัมปถะ , นายนิธิศ วัฒนมะโน


เป็นเวลาถึง 16 ปีแล้วที่กระทรวงสาธารณสุข ได้ดำเนินการจัดทำ "รายงานการสาธารณสุขไทย" และใช้ชื่อภาษาอังกฤษว่า "Thailand Health Profile" เป็นประจำทุก 2 ปี ตั้งแต่ พ.ศ.2538 เป็นต้นมาจนถึงปัจจุบัน ซึ่งฉบับนี้นับเป็นรายงานเล่มที่หกแล้ว ที่ได้มีการนำเนาสถานการณ์ แนวโน้มสุขภาพ และระบบสุขภาพของประเทศ ที่เชื่อมโยงกับปัจจัยแวดล้อมอย่างบูรณาการจนมีหน่วงงาน สถาบัน และองค์กรต่างๆ ทางด้านสุขภาพนำไปใช้ประโยชน์อย่างแพร่หลายทั้งภายในและต่างประเทศ

สำหรับเนื้อหาสาระของรายงานการสาธารณสุขไทย พ.ศ.2552 - พ.ศ.2553 นี้ยังคงสาระที่เกี่ยวงข้องกับรายงานฉบับก่อน แต่ได้มีการหยบยกบางประเด็นให้มีความหลากหลายมากขึ้น และได้มีการเพิ่มเติมเนื้อหาสาระใหม่ที่เกี่ยวข้องกับนโยบายและยุทธศาสตร์ด้านระบบสุขภาพในระดับมหภาคอีก 3 เรื่อง เรื่องแรก "การสนับสนุนการเข้าถึงยาและการบังคับใช้สิทธิบัตรโดยรัฐต่อยา" โดยหยิบยกประเด็นสถานการณ์การเข้าถึงยาในไทย เหตุผลความจำเป็นของการบังคับใช้สิทธิ ข้อตกลงนานาชาติและกฎหมายไทย การประกาศบังคับใช้สิทธิ์ การจัดหายาที่บังคับใช้สิทธิ์ ปริมาณยาที่จัดห่และการกระจาย เป็นต้น เรื่องที่สอง "พลวัตรเศรษฐกิจกับสุขภาพ" โดยหยิบยกประเด็นวิกฤตเสณษฐกิจต่อสุขภาพและระบบบริการสุขภาพ และเรื่องที่สาม "ประเทศไทยกับระบบสุขภาพโลก" โดยนำเสนอแนวคิดของงานสาธารณสุขระดับโลก การขับเคลื่อนประเด็นสาธารณสุขระดับโลก และบทบาทของประเทศไทยในงานสาธารณสุขระดับโลก

จัดทำโดย   สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข
สนับสนุนโดย   กระทรวงสาธารณสุข , สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (แผนงานพัฒนาระบบข้อมูลข่าสารสุขภาพ)
สารบัญรายงานการสาธารณสุขไทย 2552 - 2553

  ส่วนนำรายงานการสาธารณสุขไทย 2551 - 2553
คำนำ , รายนามผู้จัดทำเฉพาะบท , สารบัญตาราง , สารบัญภาพ
  บทที่ 1 พระราชจักรีวงศ์และการสาธารณสุขไทย ( โดย ปาณบดี เอกะจัมปกะ และ นิธิศ วัฒนมะโน )
1.ยุคฟื้นฟูวิทยาการแพทย์แผนไทย (พ.ศ. 2325 - พ.ศ.2394)
2.ยุคบ้านเมืองเจริญรุ่งเรือง
3.ยุคบุกเบิกของการแพทย์และการสาธารณสุขแผนปัจจุบัน (พ.ศ. 2460 - พ.ศ.2472)
4.ยุคกำเนิดกระทรวงสาธารณสุข
5.ยุคสมัยรัชกาลที่ 9 (ครองราชย์ ตั้งแต่ พ.ศ. 2489 จนถึงปัจจุบัน)
6.พระราชกรณียกิจที่เกี่ยงข้องกับสุขภาพ
  บทที่ 2 ข้อมูลพื้นฐานประเทศไทย ( โดย ปาณบดี เอกะจัมปกะ และ นิธิศ วัฒนมะโน )
1. ที่ตั้ง อาณาเขต และพรมแดน
2. ลักษณะภูมิประเทศและภูมิอากาศของไมย
3. ประชากร ภาษา และศาสนา
4. เศรษฐกิจ
5. ระบบการปกครองไทย
  บทที่ 3 นโยบายและยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพของไทย ( โดย ปาณบดี เอกะจัมปกะ และ นิธิศ วัฒนมะโน )
1. สิทธิด้านสุขภาพของประชาชน
2. แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐด้านสุขภาพตามรัฐธรรมนูญ
3. ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพ พ.ศ. 2552
4. แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 10
5. แผนการดำเนินการด้านสาธารณสุขตามแผนการบริหารราชการแผ่นดิน
6. ปฏิญญาแห่งสหัสวรรษ (Millennium Declaration)
  บทที่ 4 สถานการณ์และแนวโน้มของปัจจัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพ ( โดย ปาณบดี เอกะจัมปกะ และ นิธิศ วัฒนมะโน )
1. สถานการณ์และแนวโน้มด้านการพัฒนาเศรษฐกิจ
2. สถานการณ์และแนวโน้มด้านการศึกษา
3. สถานการณ์และแนวโน้มด้านประชากร ครอบครัว และการอพยพย้ายถิ่น
4. คุณภาพชีวิตของคนไทย
5. สถานการณ์และแนวโน้มด้านสภาพแวดล้อมในการดำรงชีวิต
6. สถานการณ์และแนวโน้มด้านการเมืองและการปกครอง
7. สถานการณ์และแนวโน้มเทคโนโลยี
8. พฤติกรรมสุขภาพ
  บทที่ 5 สถานะสุขภาพและปัญหาสุขภาพของคนไทย  ( โดย ปาณบดี เอกะจัมปกะ และ นิธิศ วัฒนมะโน )
1. ดัชนีชี้วัดสภาวะสุขภาพทั่วไป
2. ปัญหาสุขภาพที่สำคัญ
  บทที่ 6 ระบบบริการสุขภาพไทย (โดย นายแพทย์พินิจ ฟ้าอำนวยผล ปาณบดี เอกะจัมปกะ และ นิธิศ วัฒนมะโน)
1. กำลังคนด้านสุขภาพ
2. สถานบริการสุขภาพ
3. เทคโนโลยีทางสุขภาพ
4. รายจ่ายด้านสุขภาพ
5. การเข้าถึงบริการสุขภาพ
6. ประสิทธิภาพและคุณภาพของการให้บริการสุขภาพ
7. ความเป็นธรรมของบริการสุขภาพ
  บทที่ 7 การอภิบาลระบบสุขภาพของประเทศไทย ( โดย ปาณบดี เอกะจัมปกะ และ นิธิศ วัฒนมะโน )
1. ระบบสุขภาพแห่งชาติ
2. องค์ประกอบของระบบสุขภาพแห่งชาติ
3. กลไกอภิบาลระบบสุขภาพแห่งชาติ
4. หน่วยงานที่ดำเนินงานด้านสุขภาพ
  บทที่ 8 ระบบการสร้างเสริมสุขภาพของคนไทย ( โดย นายแพทย์อำพล จินดาวัฒนะ )
1. พัฒนาการของการสร้างเสริมสุขภาพในระดับสากลที่เชื่อมโยงกับสถานการณ์ในประเทศไทย: จากออตตาวา ถึง กรุงเทพฯ สู่ไนโรบี เคนยา
2. พัฒนาการของการสร้างเสริมสุขภาพในประเทศไทย
3. การปรับตัวใหม่ของการสร้างเสริมสุขภาพในอนาคต
  บทที่ 9 บทเรียนจากการควบคุมไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 ในประเทศไทย ( โดย นายแพทย์คำนวณ อึ้งชูศักดิ์ )
1. บทนำ
2. เหตุการณ์สำคัญในไทยและต่างประเทศ (Chronology)
3. ยุทธศาสตร์การลดการป่วย
4. ยุทธศาสตร์การลดการตาย
5. บทเรียนสำคัญด้านการบริหารจัดการในภาวะฉุกเฉินและวิกฤต
6. โอกาสในการพัฒนา
7. บทสรุป
  บทที่ 10 การพัฒนานโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วมและธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ ( โดย นายแพทย์อำพล จินดาวัฒนะ และ อรพรรณ ศรีสุขวัฒนา )
1. ความหมายและการพัฒนาการของนโยบายสาธารณะ
2. พัฒนาการสู่นโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วม
3. พัฒนาของกลไกพัฒนานโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วมจาก “การสาธารณสุขมูลฐาน” สู่ “การปฏิรูประบบสุขภาพ” และ “พรบ.สุขภาพแห่งชาติ”
4. เจตนารมย์และการได้มาซึ่งธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ
5. ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2552
  บทที่ 11 การกระจายอำนาจด้านสุขภาพ ( นายแพทย์ศุภกิจ ศิริลักษณ์ และ เยาวมาลย์ เสือแสงทอง )
1. ความเป็นมา
2. การดำเนินการถ่ายโอนสถานีอนามัยให้แก่ องค์การบริหารส่วนตำบล (อบต.)
3. บทสรุป
  บทที่ 12 การสนับสนุนการเข้าถึงยาและการบังคับใช้สิทธิบัตรโดยรัฐต่อยา ( โดย นายแพทย์วิชัย โชควัฒน )
1. บทนำ
2. ความเป็นมา
3. ขั้นตอนการดำเนินการ
4. การประกาศบังคับใช้สิทธิกับยา 3 รายการแรก
5. การจัดหายาที่บังคับใช้สิทธิ
6. การตอบโต้จากผู้ทรงสิทธิ
7. ทัศนะจากนานาชาติ
8. การชี้แจงของไทย
9. การประกาศบังคับใช้สิทธิระลอกสอง
10. การดำเนินการหลังการเปลี่ยนรัฐบาล
11. ผลการดำเนินการ
12. การเพิ่มการเข้าถึงยาของผู้ป่วย
13. การติดตามและประเมินผลอย่างเป็นระบบ
14. บทสรุป
  บทที่ 13 พลวัตรเศรษฐกิจกับสุขภาพ ( โดย แพทย์หญิงจงกล เลิศเธียรดำรง)
1. วิกฤตเศรษฐกิจ พ.ศ. 2540: ที่มาและแบบแผน
2. วิกฤตเศรษฐกิจ พ.ศ. 2551: ที่มาและแบบแผน
3. บทสรุป
  บทที่ 14 การสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในประเทศไทย ( โดย นายแพทย์ภูษิต ประคองสาย )
1. ความสำคัญของหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
2. ผลกระทบของการมีหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
3. สภาพปัญหาในปัจจุบันและอนาคตของระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
4. ทิศทางในอนาคตของระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในประเทศไทย
  บทที่ 15 ประเทศไทยกับระบบสุขภาพโลก ( โดย รองศาสตรจารย์ ดร.ชื่นฤทัย กาญจนะจินดา )
1. การเปลี่ยนแปลงผ่านแนวคิดด้านสุขภาพ : จากปัญหาภายในประเทศ สู่ปัญหาที่ต้องการความร่วมมือระหว่างรัฐ ไปถึงปัญหาที่ต้องการความร่วมมือขององค์กรทั้งรัฐและเอกชนทั่วโลก
2. พหุมิติของสุขภาพโลก
3. กลไกอภิบาลระบบสุขภาพโลก (Global Health Governance)
4. การเปลี่ยนแปลงบทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพทั่วโลก
5. บทบาทของไทยในเวทีสุขภาพโลก
6. การพัฒนาศักยภาพของบุคคลากรไทยในการทำงานด้านสุขภาพโลก
7. Global Health กับการสร้างเครือข่ายในประเทศ
  เอกสารอ้างอิง