picture
รายงานการสาธารณสุขไทย 2544 - 2547

บรรณาธิการ  นายแพทย์สุวิทย์ วิบุลผลประเสริฐ
ผู้ช่วยบรรณาธิการ  นายแพทย์สุวัช เซียศิริวัฒนา , นางสาวปาณบดี เอกะจัมปะ , นายสุทธิสารณ์ วัฒนมะโน , นางรุจิรา ทวีรัตน์


รายงานการสาธารณสุขไทย พ.ศ. 2544 – 2547 นี้ นับเป็นฉบับที่สี่ของประเทศไทย ที่กระทรวงสาธารณสุขได้จัดทำขึ้นภายใต้แนวคิดที่ว่า สุขภาพคนไทยมีความเชื่อมโยงกับปัจจัยต่างๆ ในทุกมิติทั้งด้านปัจเจกบุคคล สภาพแวดล้อม รวมทั้งตัวระบบบริการสุขภาพเอง ดังนั้น การพัฒนาสุขภาพคนไทยให้มีสุขภาพดีละยั่งยืน จะต้องพิจรณาถึงมิติต่างๆ ดังกล่าวด้วย ประกอบกับในช่วงเวลาที่จัดทำรายงานฉบับนี้เป็นช่วงที่ไทยดำเนินการใช้แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 9 (พ.ศ. 2545 - 2549) มาเป็นระยะเวลาครึ่งแผนฯ แล้ว ดังนั้น เพื่อให้รายงานดังกล่าวเอื้ออำนวยต่อการนำไปใช้ประโยชน์ในการกำหนดนโยบายและปรับแผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพในแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 ได้ทันการณ์ จึงได้มีการขยายขอบเขตของการรวบรวมและสังเคราะห์ข้อมูลออกไปอีก 2 ปี โดยประกอบด้วยเนื้อหารวม 13 บท

จัดทำโดย  สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ , กระทรวงสาธารณสุข
สนับสนุนโดย   กระทรวงสาธารณสุข , สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (แผนงานพัฒนาระบบข้อมูลข่าสารสุขภาพ)
สารบัญรายงานการสาธารณสุขไทย 2548 - 2550

  ส่วนนำรายงานการสาธารณสุขไทย 2548 - 2550
คำนำ , สารบัญตาราง , สารบัญภาพ
  บทที่ 1 พระราชจักรีวงศ์และการสาธารณสุขไทย
1. ยุคฟื้นฟูวิทยาการแพทย์แผนไทย (พ.ศ. 2335 – พ.ศ.2394)
2. ยุคบ้านเมืองเจริญรุ่งเรือง
3. ยุคบุกเบิกของการแพทย์และการสาธารณสุขแผนปัจจุบัน (พ.ศ. 2460 – พ.ศ. 2472)
4. ยุคกำเนิดกระทรวงสาธารณสุข
  บทที่ 2 ข้อมูลพื้นฐานประเทศไทย
1. ที่ตั้ง อาณาเขตและพรมแดน
2. ลักษณะภูมิประเทศและภูมิอากาศของไทย
3. ประชากร ภาษาและศาสนา
4. เศรษฐกิจ
5. ระบบการปกครองของไทย
  บทที่ 3 แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติในช่วงแผนพฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 9 (พ.ศ. 2545 – พ.ศ.2549)
1. แนวคิดในการจัดทำแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 9 (พ.ศ. 2545 – พ.ศ.2549)
2. ภาพลักษณ์ระบบสุขภาพไทย
3. วิสัยทัศน์การพัฒนาสุขภาพประชาชน
4. พันธกิจหลัก : การระดมพลังทั้งสังคมเพื่อสร้างสุขภาพ (All for Health)
5. วัตถุประสงค์ของแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 9 (พ.ศ. 2545 – พ.ศ.2549)
6. เป้าหมายของแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 9 (พ.ศ. 2545 – พ.ศ.2549)
7. ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ
8. โครงสร้าง / โครงการในแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติในช่วงแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 9 (พ.ศ. 2545 – พ.ศ.2549)
  บทที่ 4 สถาการณ์และแนวโน้มของปัจจัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพ
1.สถานการณ์และแนวโน้มด้านการเศรษฐกิจ
2. สถานการณ์และแนวโน้มด้านการศึกษา
3. สถานการณ์และแนวโน้มด้านการประชากร ครอบครัวและการอพยพย้ายถิ่น
4. คุณภาพชีวิตของคนไทย
5. ค่านิยม ความเชื่อและวัฒนธรรม
6. สถานการณ์และแนวโน้มด้านการเมืองและการปกครอง
7. สถานการณ์และแนวโน้มด้านสภาพแวดล้อมทางกายภาพ
8. สถานการณ์และแนวโน้มด้านโครงสร้างพื้นฐาน
9. สถานการณ์และแนวโน้มด้านเทคโนโลยี
10. พฤติกรรมสุขภาพ
  บทที่ 5 สถานสุขภาพและปัญหาสุขภาพของคนไทย
1. ดัชนีชี้วัดสุขภาพทางกายในภาพรวม
2. ดัชนีชี้วัดสภาวะสุขภาพจิต
3. การเปลี่ยนผ่านทางระบาดวิทยา
  บทที่ 6 ระบบบริการสุขภาพไทย
1. ทรัพยากสุขภาพ
2. การบริหารจัดการระบบสาธารณสุข
3. โครงสร้างองค์กรในการดำเนินงานด้านสาธารณสุข
4. บริการสุขภาพ
5. การคลังสาธารณสุขไทย
6. ปัญหาระบบสุขภาพไทย
  บทที่ 7 ระบบบริหารงานของกระทรวงสาธารณสุข
1. กว่าจะมาเป็นกระทรวงสาธารณสุข
2. กระทรวงสาธารณสุข : ปัจจุบันและแนวโน้มอนาคต
3. แผนงาน / โครงการของกระทรวงสาธารณสุข
4. กำลังคนของกระทรวงสาธารณสุข
5. งบประมาณของกระทรวงสาธารณสุข
6. สรุปการปรับตัวของกระทรวงสาธารณสุขใน พ.ศ. 2540 – พ.ศ.2547
  บทที่ 8 โครงการและกิจกรรมสำคัญทางด้านสุขภาพที่ดำเนินการในแระเทศไทย
1. การสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
2. การสร้างเสริมสุขภาพ
3. การป้องกันและควบคุมโรค
4. การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
5. การบริการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการ
6. การพัฒนาระบบสุขภาพภาคประชาชน
7. การคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ
8. การพัฒนากำลังคนด้านสุขภาพ
9. การวิจัยด้านสุขภาพ
10. การพัฒนาสาธารณสุขระหว่างประเทศ
  บทที่ 9 การปฏิรูประบบสุขภาพแห่งชาตและการกระจายอำนาจด้านสุขภาพ
1. สุขภาพและระบบบริการสุขภาพในภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ (พ.ศ. 2521 - พ.ศ.2530)
2. ระบบสุขภาพในช่วงเศรษฐกิจขยายตัว (พ.ศ. 2521 - พ.ศ.2539)
3. วิกฤตเศรษฐกิจ พ.ศ. 2540 และผลกระทบต่อสุขภาพ
4. ยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพในการตอบสนองต่อวิกฤตเศรษฐกิจ
5. สุขภาพในช่วงเศรษฐกิจฟื้นตัว (ตั้งแต่ พ.ศ. 2545)
  บทที่ 10 ระบบสุขภาพกับการค้าระหว่างประเทศ
1. องค์การการค้าโลก (World Trade Organization - WTO)
2.ข้อตกลงพหุภาคีด้านการค้าผิตภัณฑ์ที่เกี่ยวกับสุขภาพ
3. การเปิดเสรีทางการค้าบริการ - GATS
4. ข้อตกลงทรัพย์สินทางปัญญา (TRIPS)
  บทที่ 11 การปฏิรูประบบสุขภาพและการกระจายอำนาจด้านสุขภาพ
1. ความเคลื่อนไหวในการปฏิรูประบบสุขภาพ
2. ข้อตกลงพหุภาคีด้านการค้าผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวกับสุขภาพ
3. การกระจายอำนาจและการถ่ายโอนอำนาจในภาคสาธารณสุข
4. การดำเนินการในการกระจายอำนาจ
5. ความคืบหน้าในการดำเนินการ
  บทที่ 12 ประชาสังคมกับการพัฒนาสุขภาพ
1. ความหมายและที่มา
2.องค์กรประชาสังคมในประเทศไทย
3. ประชาสังคมกับการพัฒนาสุขภาพในประเทศไทย
4. แนวโน้มอนาคต
  บทที่ 13 การพัฒนาสาธารณสุขระหว่างประเทศ
1. ขอบเขต หน้าที่ องค์กร และกลไกของการสาธารณสุขระหว่างประเทศ 2. องค์กร / กลไกด้านการสาธารณสุขระหว่างประเทศ 3. ความสำเร็จของไทยในเวทีสาธารณสุขระหว่างประเทศ (พ.ศ. 2543 - 2547) 4. การวิเคราะห์สถานการณ์ของการสาธารณสุขระหว่างประเทศในประเทศไทย 5. แนวทางการพัฒนาการสาธารณสุขระหว่างประเทศในอนคต
  บรรณานุกรม