picture
รายงานการสาธารณสุขไทย 2548 - 2550

บรรณาธิการ  นายแพทย์สุวิทย์ วิบุลผลประเสริฐ
ผู้ช่วยบรรณาธิการ  นพ.ศุภกิจ ศิริลักษณ์ , นางสาวปาณบดี เอกะจัมปะ , นายนิธิศ วัฒนมะโน , นางรุจิรา ทวีรัตน์


กระทรวงสาธารณสุขดำเนินการจัดทำ “รายงานการสาธารณสุขไทย” และใช้ชื่อภาษาอังกฤษว่า “Thailand Health Profile” เป็นประจำทุก 2 ปี ตั้งแต่ พ.ศ. 2538 จนถึงปัจจุบัน นับเป็นเล่มที่ห้าซึ่งได้ผ่านกระบวนการมีส่วนร่วมจากผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้เชี่ยวชาญและผู้แทนหน่วยงานที่รับผิดชอบข้อมูลด้านสุขภาพ เพื่อให้รายงานดังกล่าวเป็นรายงานที่นำเสนอระบบสุขภาพของประเทศที่มีการเชื่อมโยงกับปัจัยแวดล้อมได้อย่างบูรณาการ อันนำไปสู่การพัฒนาระบบสุขภาพของประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ รายงานการสาธารณสุขไทยฉบับใหม่ พ.ศ. 2548 - 2550 นี้ นำเสนอเรื่องราวที่สัมพันธ์กับรายงานฉบับก่อน และมีการเพิ่มเติมเรื่องเด่นเฉพาะที่มีความสำคัญ รวม 2 เรื่อง คือ หลักประกันสุขภาพใรประเทศไทยซึ้งได้กล่าวถึงวิวัฒนาการ ผลสำเร็จของการดำเนินงานสร้างหลักประกันสุขภาพและการแลไปข้างหน้า และอีกเรื่องที่มรความสำคัญเช่นกันคือ ระบบเฝ้าระวัง ควบคุมโรคและภัยที่เป็นภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขของประเทศไทยที่พยายามปรับตัวเองเพื่อโต้ตอบกับภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขได้อย่างดี โดยเฉพาะในกรณีการเกิดการระบาดของโรคทางเดินหายใจเฉียบพลันรุนแรง (SARS) โรคไข้หวัดนก และภัยธรรมชาติคลื่นยักษ์ Tsunami

จัดทำโดย  สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ , กระทรวงสาธารณสุข
สนับสนุนโดย   กระทรวงสาธารณสุข , สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (แผนงานพัฒนาระบบข้อมูลข่าสารสุขภาพ)
สารบัญรายงานการสาธารณสุขไทย 2548 - 2550

  ส่วนนำรายงานการสาธารณสุขไทย 2548 - 2550
คำนำ , สารบัญตาราง , สารบัญภาพ
  บทที่ 1 พระราชจักรีวงศ์และการสาธารณสุขไทย
1.พัฒนาการสาธารณสุขในยุคสมัยของพระราชจักรีวงศ์
     1.1 ยุคฟื้นฟูวิทยาการแพทย์แผนไทย (พ.ศ. 2325 - พ.ศ. 2394 )
     1.2 ยุคบ้านเมืองเจริญรุ่งเรือง
     1.3 ยุคบุกเบิกของการแพทย์และการสาธารณสุขแผนปัจจุบัน (พ.ศ. 2460 - พ.ศ. 2472 )
     1.4 ยุคกำเนิดกระทรวงสาธารณสุข
2. พระราชกรณียกิจที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพ
  บทที่ 2 ข้อมูลพื้นฐานประเทศไทย
1. ที่ตั้ง อาณาเขตและพรมแดน
2. ลักษณะภูมิประเทศและภูมิอากาศของไทย
3. ประชากร ภาษาและศาสนา
4. เศรษฐกิจ
5. ระบบการปกครองของไทย
  บทที่ 3 นโยบายและยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพของไทย และการแพทย์ทางเลือก
1. สิทธิด้านสุขภาพของประชาชน
2. แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐด้ารสุขภาพตามรัฐธรรมนูญ
3. แผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพของไทย
  บทที่ 4 สถานการณ์และแน้วโน้มของปัจจัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพ
1. สถานการณ์และแน้วโน้มด้านการพัฒนาเศรษฐกิจ
2. สถานการณ์และแน้วโน้มด้านการศึกษา
3. สถานการณ์และแน้วโน้มด้านประชากร ครอบครัว และการอพยพย้ายถิ่น
4. คุณภาพชีวิตของคนไทย
5. สถานการณ์และแน้วโน้มด้านสภาพแวดล้อมในการดำรงชีวิต
6. สถานการณ์และแน้วโน้มด้านการเมืองและการปกครอง
7. สถานการณ์และแน้วโน้มด้านเทคโนโลยี
8. พฤติกรรมสุขภาพ
  บทที่ 5 สถานสุขภาพและปัญหาสุขภาพของคนไทย
1. ดัชนีชี้วัดสภาวะสุขภาพทั่วไป
2. ปัญหาสุขภาพที่สำคัญ
3. บทสังเคราะห์
  บทที่ 6 ระบบบริการสุขภาพไทย
1. กำลังด้านสุขภาพ
2. สถานบริการสุขภาพ
3. เทคโนโลยีทางสุขภาพ
4. รายจ่ายด้านสุขภาพ
5. การเข้าถึงบริการสุขภาพ
6. ประสิทธิภาพและคุณภาพของการให้บริการสุขภาพ
7. ความเป็นธรรมของบิการสุขภาพ
  บทที่ 7 การอภิบาลระบบสุขภาพของประเทศไทย
1. ขอบเขตของระบบสุขภาพแห่งชาติ
2. องค์ประกอบของระบบสุขภาพแห่งชาติ
3. กลไกอภิบาลระบบสุขภาพแห่งชาติ
4. หน่วยงานที่ดำเนินงานด้านสุขภาพ
  บทที่ 8 หลักประกันสุขภาพในประเทศไทย
1. วิวัฒนาการระบบประกันสุขภาพไทยก่อน พ.ศ. 2545
2. การเปลี่ยนผ่านใน พ.ศ. 2545 ไปสู่การประกันสุขภาพถ้วนหน้า
3. การพัฒนาระบบย่อยเพื่อสนับสนุนหลักประกันสุขภาพ
4. ผลสำเร็จของการดำเนินงานสร้างหลักประกันสุขภาพ
  บทที่ 9 การปฏิรูประบบสุขภาพแห่งชาตและการกระจายอำนาจด้านสุขภาพ
1. การปฏิรูประบบสุขภาพแห่งชาติ
2. การกระจายอำนาจด้านสุขภาพ
  บทที่ 10 สุขภาพภาคประชาชนกับการพัฒนาระบบสุขภาพ
1. กระบวนการ อสม. ที่ขยายตัวและเป็นผู้หญิงมากขึ้น
2. บทบาทของ อสม.
3. ศักยภาพของชมรม อสม. ระดับจังหวัด
4. จุดแข็ง อสม.
5. รูปแบบอาสาสมัครสุขภาพที่มีความหลากหลายในชุมชน
6. คุณค่า อสม. ในการพัฒนาสุขภาพชุมชน
7. อุปสรรคการทำงานของ อสม.
8. บทสรุป
  บทที่ 11 ระบบเฝ้าระวังควบคุมโรคและภัยที่เป็นภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข
1. ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข
2. กฎอนามัยระหว่างประเทศและการตอบสนองต่อภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข
3. ระบบการเฝ้าระวังโรคติดต่อและการพัฒนาการในประเทศไทย
4. หน่วยหรือทีมเฝ้าระวังสวบสวนเคลื่อนที่เร็ว
5. กรณีศึกษาการเฝ้าระวัง / ภัยสุขภาพเพื่อตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข
6. สรุปบทเรียนและข้อเสนอแนะ
  บรรณานุกรม
  รายงานคณะกรรมการการจัดทำรายงาน Thailand Health Profile 2005 - 2006