เรื่องเล่าข่าวสุขภาพ | สมรรถภาพร่างกาย | สุขภาวะทางจิต | สุขภาพกับความงาม | สื่อกับสุขภาพ | สมุนไพรเพื่อสุขภาพ | ธรรมะกับสุขภาพ








แสงสว่างของชีวิต





ท่านเจ้าเมืองผู้เฒ่า กล่าวกับอำมาตย์ผู้จงรักภักดีอย่างหดหู่ว่า “ข้ารู้สึกว่าตัวเองแก่ชราลงไปทุกวัน เกินกว่าที่จะศึกษาสิ่งต่างๆ ต่อไป ทั้งที่ใจข้านั้นยังปรารถนาที่จะเรียนรู้อะไรอีกมากมาย แต่มันคงสายสำหรับข้าเสียแล้ว”

อำมาตย์ได้ฟังก็เปรยขึ้นว่า “เหตุใดท่านไม่ลองจุดเทียนเล่า ไม่มีคำ ว่าสายสำหรับการเริ่มต้นใหม่หรอก”

“หมายความว่าอย่างไร ท่านอำมาตย์”

“หากผู้ใดใฝ่ขยันตั้งแต่วัยเยาว์ ตั้งใจศึกษาหาความรู้ อนาคตของ เขาย่อมเปรียบเหมือนแสงอรุโณทัยที่ส่องสว่างและเจิดจรัส หากผู้ใด ใฝ่ศึกษาเมื่อเข้าวัยกลางคน ชีวิตของเขาก็เปรียบเหมือนตะวันยามเที่ยง ที่จะส่องแสงไปได้อีกครึ่งวัน และหากผู้ใดใฝ่ศึกษาในยามชรา ก็เปรียบ เหมือนเปลวเทียน แม้จะให้แสงได้ไม่มาก แม้จะริบหรี่ แต่ก็ย่อมดีกว่า ตกอยู่ในความมืดมน” อำมาตย์อธิบายด้วยความตั้งใจ

.........

คนเรานั้นไม่มีคำว่าสายเกินไปสำหรับการเรียนรู้ เพราะความรู้นั้นจะอยู่ติดตัวเราไปจนแก่เฒ่า เป็นทรัพย์สมบัติที่ยิ่งใช้จะยิ่งมีมากขึ้น.. มากขึ้น และจะนำชีวิตเราไปในทางที่ดี เหมือนแสงไฟที่ส่องนำทาง แม้จะน้อยนิดแต่ก็ยังมีแสงรำไรให้เรามองเห็น...ไม่มีใครเป็นที่พึ่งให้เราได้ทั้งชีวิต เราควรศึกษาเรียนรู้สิ่งต่างๆในโลก ทั้งทางวิชาการ และความรู้ทั่วไปที่จะสามารถใช้ชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข ใช้ทรัพย์ทางปัญญาของเราสร้างประโยชน์ให้แก่ตัวเองและสังคม เพราะสิ่งเหล่านั้นจะยังคงอยู่แม้เวลาจะผ่านไป



จาก ทำดีดอทเนต




ขอขอบคุณที่มา : http://www.dhammathai.org/dhammastory/view.php?No=236
                           ภาพประกอบจากอินเตอร์เน็ต





 


 











 
๏ปฟ












เธซเธ™เน‰เธฒเนเธฃเธ | เน€เธเธตเนˆเธขเธงเธเธฑเธšเนเธœเธ™เธ‡เธฒเธ™ | เน€เธ„เธฃเธทเธญเธ‚เนˆเธฒเธขเนเธฅเธฐเธเธดเธˆเธเธฃเธฃเธก | เธœเธฅเธœเธฅเธดเธ•เนเธฅเธฐเธฃเธฒเธขเธ‡เธฒเธ™ | เธ‚เน‰เธญเธกเธนเธฅเธชเธ–เธดเธ•เธด | เธเธฒเธฃเธˆเธฑเธ”เธเธฒเธฃเธ„เธงเธฒเธกเธฃเธนเน‰ | เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ‡เธฒเธ™ | เธ•เธดเธ”เธ•เนˆเธญเนเธœเธ™เธ‡เธฒเธ™ | เน€เธˆเน‰เธฒเธซเธ™เน‰เธฒเธ—เธตเนˆเธ”เธนเนเธฅเธฃเธฐเธšเธš
เนเธ™เธฐเธ™เธณเนเธœเธ™เธ‡เธฒเธ™ | เธ‚เนˆเธฒเธงเธเธดเธˆเธเธฃเธฃเธก | เน€เธเธฒเธฐเธ•เธดเธ”เธเธดเธˆเธเธฃเธฃเธกเน€เธ”เนˆเธ™ | เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ‡เธฒเธ™เธ—เธตเนˆเน€เธเธตเนˆเธขเธงเธ‚เน‰เธญเธ‡ | เธœเธฅเธœเธฅเธดเธ•เนเธฅเธฐเธฃเธฒเธขเธ‡เธฒเธ™| เธฃเธฒเธขเธ‡เธฒเธ™เธชเธธเธ‚เธ เธฒเธž| เธเน‰เธฒเธงเนƒเธซเธกเนˆเธเธฑเธš HISO | เธชเธ–เธฒเธ™เธเธฒเธฃเธ“เนŒเธชเธธเธ‚เธ เธฒเธžเธ›เธฃเธฐเน€เธ—เธจเน„เธ—เธข
เธเธฒเธฃเธงเธดเน€เธ„เธฃเธฒเธฐเธซเนŒเธชเธ–เธฒเธ™เธเธฒเธฃเธ“เนŒเธชเธธเธ‚เธ เธฒเธž | เธชเธ–เธฒเธ™เธเธฒเธฃเธ“เนŒเธ‚เนˆเธฒเธงเธชเธธเธ‚เธ เธฒเธž | เน€เธฃเธทเนˆเธญเธ‡เน€เธฅเนˆเธฒเธ‚เนˆเธฒเธงเธชเธธเธ‚เธ เธฒเธž | เธชเธทเนˆเธญเธ‚เน‰เธญเธกเธนเธฅเธชเธธเธ‚เธ เธฒเธž | เนเธšเธšเธชเธณเธฃเธงเธˆเธชเธธเธ‚เธ เธฒเธž | webbord | เธ„เธณเธ–เธฒเธกเธ—เธตเนˆเธžเธšเธšเนˆเธญเธข | เธชเธกเธธเธ”เน€เธขเธตเนˆเธขเธกเธŠเธก | เธšเธฃเธดเธเธฒเธฃเธ‚เน‰เธญเธกเธนเธฅ