เรื่องเล่าข่าวสุขภาพ | สมรรถภาพร่างกาย | สุขภาวะทางจิต | สุขภาพกับความงาม | สื่อกับสุขภาพ | สมุนไพรเพื่อสุขภาพ | ธรรมะกับสุขภาพ






ลกธรรม ๘ ประการ "หลวงพ่อสนอง กตปุญโญ"





 



การที่เราทำประตูในลักษณะนี้ก็เพื่ออธิบายโลกธรรม ๘ ประการ อันได้แก่ มีลาภ เสื่อมลาภ มียศ เสื่อมยศ มีสุข มีทุกข์ สรรเสริญ นินทา ทุกคนมุ่งหวังไปสู่ความสุขตรงนี้กันโดยที่ไม่ทำจิตใจให้เป็นกลาง เมื่อคนเราไม่ได้ทำจิตใจให้เป็นกลาง จึงไม่มีสติในการบริโภคก็ย่อมตกต่ำ ย่อมตกไปอยู่ในบ่วงทุกข์ ไม่สามารถจะออกไปได้

ทุกวันนี้คนเราที่ต้องกินยาตาย ฆ่าตัวตายประสบทุกข์ทั้งหลายก็เพราะว่าตกอยู่ในอำนาจของวัตถุไม่เข้าใจเรื่องโลกธรรม ๘ ประการนี้ มองไม่เห็นสัจธรรมว่า ... อันนี้คือสิ่งที่โลกสมมุติขึ้นมาเท่านั้นเอง คือสมมุติให้ได้ความสะดวกให้ได้ความสบาย เช่น พวกเงินทองธนบัตรต่างๆ ก็คือกระดาษที่เขาสมมุติขึ้นมา ถ้าเราเอามาใช้ให้เป็นประโยชน์ด้วยปัญญาแล้ว ก็จะเห็นคุณค่าว่าสิ่งเหล่านี้มาช่วยบรรเทาทุกข์ในชีวิตประจำวันได้ แต่ไม่ใช่มาช่วยทำให้จิตใจของเราดับกิเลส หรือดับความเร่าร้อน การที่จะดับกิเลสได้เราต้องเข้าหาสัจธรรม

ดังนั้น เราก็ต้องเข้าใจว่า...เมื่อเราอยู่ในโลก เสวยโลกแล้ว เราต้องหาทางพ้นทุกข์ด้วย ไม่ใช่ว่าจะเสวยอย่างนี้ไปตลอด มันไม่ใช่สุขที่แท้จริง มันเป็นเพียงของสมมุติ บริโภคได้ ใช้ได้ แต่ต้องพิจารณา อย่าไปยึดมั่นถือมั่นว่า "ฉันจะต้องมี เมื่อฉันมีสิ่งนี้ฉันจึงจะมีความสุข ถ้าไม่มีแล้วฉันจะทุกข์" อย่าไปคิดอย่างนั้น สุขทุกข์มันไม่ได้อยู่ที่ตรงนี้ แต่มันอยู่ที่จิตใจ มันอยู่ที่คุณธรรมความดีที่ตนเองสร้างไว้ อันนี้ต่างหากที่จะเป็นตัวตัดสิน ไม่ใช่สิ่งของเป็นตัวตัดสิน ก็ให้เข้าใจอย่างนี้

เหมือนในหลวงท่านก็สอนแล้วว่า...ให้ทุกคนไม่ต้องเอามาก ให้รู้จัก "พอเพียง" ก็จะมีความสุข คือทำให้ "เป็นกลาง" นั่นเอง ท่านสอนไว้ตรงนี้











ขอขอบคุณที่มา : หนังสือประตูธรรม หน้า ๙๔
                          หลวงพ่อสนอง กตปุญโญ * วัดสังฆทาน จ.นนทบุรี
      คัดลอกจาก : http://www.bloggang.com/viewdiary.php?id=icyiceberg&group=4
                          ภาพประกอบจากอินเตอร์เน็ต





 













 
๏ปฟ












เธซเธ™เน‰เธฒเนเธฃเธ | เน€เธเธตเนˆเธขเธงเธเธฑเธšเนเธœเธ™เธ‡เธฒเธ™ | เน€เธ„เธฃเธทเธญเธ‚เนˆเธฒเธขเนเธฅเธฐเธเธดเธˆเธเธฃเธฃเธก | เธœเธฅเธœเธฅเธดเธ•เนเธฅเธฐเธฃเธฒเธขเธ‡เธฒเธ™ | เธ‚เน‰เธญเธกเธนเธฅเธชเธ–เธดเธ•เธด | เธเธฒเธฃเธˆเธฑเธ”เธเธฒเธฃเธ„เธงเธฒเธกเธฃเธนเน‰ | เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ‡เธฒเธ™ | เธ•เธดเธ”เธ•เนˆเธญเนเธœเธ™เธ‡เธฒเธ™ | เน€เธˆเน‰เธฒเธซเธ™เน‰เธฒเธ—เธตเนˆเธ”เธนเนเธฅเธฃเธฐเธšเธš
เนเธ™เธฐเธ™เธณเนเธœเธ™เธ‡เธฒเธ™ | เธ‚เนˆเธฒเธงเธเธดเธˆเธเธฃเธฃเธก | เน€เธเธฒเธฐเธ•เธดเธ”เธเธดเธˆเธเธฃเธฃเธกเน€เธ”เนˆเธ™ | เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ‡เธฒเธ™เธ—เธตเนˆเน€เธเธตเนˆเธขเธงเธ‚เน‰เธญเธ‡ | เธœเธฅเธœเธฅเธดเธ•เนเธฅเธฐเธฃเธฒเธขเธ‡เธฒเธ™| เธฃเธฒเธขเธ‡เธฒเธ™เธชเธธเธ‚เธ เธฒเธž| เธเน‰เธฒเธงเนƒเธซเธกเนˆเธเธฑเธš HISO | เธชเธ–เธฒเธ™เธเธฒเธฃเธ“เนŒเธชเธธเธ‚เธ เธฒเธžเธ›เธฃเธฐเน€เธ—เธจเน„เธ—เธข
เธเธฒเธฃเธงเธดเน€เธ„เธฃเธฒเธฐเธซเนŒเธชเธ–เธฒเธ™เธเธฒเธฃเธ“เนŒเธชเธธเธ‚เธ เธฒเธž | เธชเธ–เธฒเธ™เธเธฒเธฃเธ“เนŒเธ‚เนˆเธฒเธงเธชเธธเธ‚เธ เธฒเธž | เน€เธฃเธทเนˆเธญเธ‡เน€เธฅเนˆเธฒเธ‚เนˆเธฒเธงเธชเธธเธ‚เธ เธฒเธž | เธชเธทเนˆเธญเธ‚เน‰เธญเธกเธนเธฅเธชเธธเธ‚เธ เธฒเธž | เนเธšเธšเธชเธณเธฃเธงเธˆเธชเธธเธ‚เธ เธฒเธž | webbord | เธ„เธณเธ–เธฒเธกเธ—เธตเนˆเธžเธšเธšเนˆเธญเธข | เธชเธกเธธเธ”เน€เธขเธตเนˆเธขเธกเธŠเธก | เธšเธฃเธดเธเธฒเธฃเธ‚เน‰เธญเธกเธนเธฅ