เรื่องเล่าข่าวสุขภาพ | สมรรถภาพร่างกาย | สุขภาวะทางจิต | สุขภาพกับความงาม | สื่อกับสุขภาพ | สมุนไพรเพื่อสุขภาพ | ธรรมะกับสุขภาพ






ใช้มือถือเกิน 10 ปี มีโอกาสเสี่ยงเป็น มะเร็งสมอง





 

ข่าว แจ้ง คนใช้ โทรศัพท์ มือถือ เกิน 10 ปี เสี่ยงเป็น โรค มะเร็งสมอง โดย นักวิจัย สวีเดน ศึกษา พบ การใช้ โทรศัพท์มือถือ เป็นเวลานานจะเพิ่มโอกาสมีก้อนเนื้อร้ายใน สมอง ด้านที่มักใช้รับ Telephone บ่อยๆ เพิ่มขึ้นถึงสองเท่า และถ้าใช้ โทรศัพท์ วันละหนึ่งชั่วโมงเป็นเวลากว่า 10 ปี ก็เพียงพอที่จะเพิ่มปัจจัยเสี่ยง โรค ขึ้นมาได้

หลายคนอาจจะบอกว่ายังไม่มีสัญญาณบ่งชัด ที่จะชี้ว่าการใช้โทรศัพท์มือถือจะก่อให้เกิดมะเร็งสมองหรือไม่ แต่นักวิจัยในยุโรปเชื่อว่า หากใช้ เป็นประจำมากกว่า 10 ปีอาจจะเพิ่มปัจจัยเสี่ยงในการเป็นมะเร็งสมองได้

นักวิจัยในสวีเดนศึกษาพบว่า การใช้โทรศัพท์มือถือเป็นระยะเวลานานจะเพิ่มโอกาสมีก้อนเนื้อร้ายในสมอง ด้านที่มักใช้รับโทรศัพท์บ่อยๆเพิ่มขึ้นถึงสองเท่า และถ้าใช้โทรศัพท์วันละหนึ่งชั่วโมงเป็นเวลากว่า 10 ปี ก็เพียงพอที่จะเพิ่มปัจจัยเสี่ยงขึ้นมาได้ งานวิจัยยังระบุว่า “มาตรฐานนานาชาติที่คุ้มครองผู้ใช้โทรศัพท์จากรังสี ที่แผ่ออกมาก็ยังไม่ปลอดภัยพอและจำเป็นต้องมีการปรับปรุง”

“ไม่ควรให้เด็กๆใช้โทรศัพท์มือถือ เพราะว่ากะโหลกของพวกเขายังบางอยู่ และระบบประสาทก็ยังอยู่ในระหว่างการพัฒนา ทำให้มันเปราะบางเป็นพิเศษ สำหรับผู้ใหญ่ก็ควรจะมีคำเตือนไว้ด้วย” ศาสตราจารย์ เลนนาร์ท ฮาร์เดลล์ หัวหน้าคณะนักวิจัยจากโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยในโอเรโบร กล่าวต่อ นสพ.เดลิเมล์

ข้อสรุปดังกล่าวนั้นมีขึ้นหลังจากที่นักวิจัยตรวจสอบการใช้โทรศัพท์เป็นระยะเวลานาน เพราะว่าการเกิดมะเร็งนั้น ต้องใช้เวลานานกว่าทศวรรษ และหลังจากที่ได้วิเคราะห์การศึกษาเกี่ยวกับการใช้โทรศัพท์มือถือ 11 ชิ้นทั่วโลก ก็พบว่าเกือบทั้งหมดพบว่ามันเพิ่มปัจจัยเสี่ยงในเซลล์เกี่ยวกับเยื่อโครง ประสาท ที่ทำหน้าที่สนับสนุนและปกป้องเซลล์ประสาท











ขอขอบคุณที่มา : http://www.telewizmall.com
                          ภาพประกอบจากอินเตอร์เน็ต





 













 
๏ปฟ












เธซเธ™เน‰เธฒเนเธฃเธ | เน€เธเธตเนˆเธขเธงเธเธฑเธšเนเธœเธ™เธ‡เธฒเธ™ | เน€เธ„เธฃเธทเธญเธ‚เนˆเธฒเธขเนเธฅเธฐเธเธดเธˆเธเธฃเธฃเธก | เธœเธฅเธœเธฅเธดเธ•เนเธฅเธฐเธฃเธฒเธขเธ‡เธฒเธ™ | เธ‚เน‰เธญเธกเธนเธฅเธชเธ–เธดเธ•เธด | เธเธฒเธฃเธˆเธฑเธ”เธเธฒเธฃเธ„เธงเธฒเธกเธฃเธนเน‰ | เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ‡เธฒเธ™ | เธ•เธดเธ”เธ•เนˆเธญเนเธœเธ™เธ‡เธฒเธ™ | เน€เธˆเน‰เธฒเธซเธ™เน‰เธฒเธ—เธตเนˆเธ”เธนเนเธฅเธฃเธฐเธšเธš
เนเธ™เธฐเธ™เธณเนเธœเธ™เธ‡เธฒเธ™ | เธ‚เนˆเธฒเธงเธเธดเธˆเธเธฃเธฃเธก | เน€เธเธฒเธฐเธ•เธดเธ”เธเธดเธˆเธเธฃเธฃเธกเน€เธ”เนˆเธ™ | เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ‡เธฒเธ™เธ—เธตเนˆเน€เธเธตเนˆเธขเธงเธ‚เน‰เธญเธ‡ | เธœเธฅเธœเธฅเธดเธ•เนเธฅเธฐเธฃเธฒเธขเธ‡เธฒเธ™| เธฃเธฒเธขเธ‡เธฒเธ™เธชเธธเธ‚เธ เธฒเธž| เธเน‰เธฒเธงเนƒเธซเธกเนˆเธเธฑเธš HISO | เธชเธ–เธฒเธ™เธเธฒเธฃเธ“เนŒเธชเธธเธ‚เธ เธฒเธžเธ›เธฃเธฐเน€เธ—เธจเน„เธ—เธข
เธเธฒเธฃเธงเธดเน€เธ„เธฃเธฒเธฐเธซเนŒเธชเธ–เธฒเธ™เธเธฒเธฃเธ“เนŒเธชเธธเธ‚เธ เธฒเธž | เธชเธ–เธฒเธ™เธเธฒเธฃเธ“เนŒเธ‚เนˆเธฒเธงเธชเธธเธ‚เธ เธฒเธž | เน€เธฃเธทเนˆเธญเธ‡เน€เธฅเนˆเธฒเธ‚เนˆเธฒเธงเธชเธธเธ‚เธ เธฒเธž | เธชเธทเนˆเธญเธ‚เน‰เธญเธกเธนเธฅเธชเธธเธ‚เธ เธฒเธž | เนเธšเธšเธชเธณเธฃเธงเธˆเธชเธธเธ‚เธ เธฒเธž | webbord | เธ„เธณเธ–เธฒเธกเธ—เธตเนˆเธžเธšเธšเนˆเธญเธข | เธชเธกเธธเธ”เน€เธขเธตเนˆเธขเธกเธŠเธก | เธšเธฃเธดเธเธฒเธฃเธ‚เน‰เธญเธกเธนเธฅ