เรื่องเล่าข่าวสุขภาพ | สมรรถภาพร่างกาย | สุขภาวะทางจิต | สุขภาพกับความงาม | สื่อกับสุขภาพ | สมุนไพรเพื่อสุขภาพ | ธรรมะกับสุขภาพ






โทรศัพท์มือถือก่อภัยโรงพยาบาล เป็นตัวการแพร่เชื้อโรคติดต่อกัน





 

นักวิทยาศาสตร์อินเดียเปิดเผยว่า โทรศัพท์มือถือของบุคลากรตามสถานพยาบาลได้กลายเป็นตัวการพาหะนำโรค ติดต่อแพร่หลายออกไป

นักวิทยาศาสตร์ของวิทยาลัยแพทย์กัสเทอร์บาที่เมืองมังกะลอร์ กล่าวว่า  “ โทรศัพท์มือถือ ตลอดจนคอมพิวเตอร์ขนาดพกพา และคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล   ที่ใช้งานกันในโรงพยาบาลที่วุ่นวายหลายแห่งไม่แต่เพียงถ่ายทอดข้อมูลให้กันและกันเท่านั้น หากยังช่วยแพร่เชื้อโรคระหว่างบุคลากรที่ปฏิบัติงานในองค์กรนั้นด้วย ด้วยเหตุที่อุปกรณ์เหล่านี้ต่างได้ รับเชื้อโรคจากมือของคนต่างๆ และยิ่งไม่ระมัดระวังกันด้วยแล้ว ในแผนกคนไข้ฉุกเฉินหรือในห้องผ่าตัด ก็อาจ จะเป็นแหล่งแพร่เชื้อให้กับคนไข้ด้วย ดีไม่ดีด้วยน้ำมือของบุคลากรเหล่านี้อาจจะกลายเป็นผู้แพร่โรคให้กับชุมชนเสียเองก็ได้”

พวกเขาเปิดเผยว่า จากการศึกษาด้วยการเก็บตัวอย่างจากโทรศัพท์มือถือ และจากมือของพนักงานในสถานพยาบาล รวม 30 ตัวอย่าง ปรากฏว่าได้พบเชื้อแบคทีเรีย สตาฟีโลค็อกโค ถึง 40% ของตัวอย่าง แบคทีเรียพวกนี้มีอยู่ ตามผิวหนังหรือภายในจมูกของคนปกติ ซึ่งหากเข้าสู่ร่างกายทางแผล หรือรอยถลอกได้ อาจจะก่อให้เกิดการอักเสบอย่างอ่อนหรืออย่างรุนแรงขึ้นได้

ก่อนหน้านี้ก็เคยมีการศึกษาทำนองเดียวกันที่โรงพยาบาลโซโรกา ในอิสราเอล พบว่าโทรศัพท์ มือถือของหมอและพยาบาล จำนวนถึง 12% มีเชื้อแบคทีเรียดื้อยาชนิดหนึ่ง ซึ่งอาจจะทำให้ คนไข้หนักเป็นอันตรายถึงชีวิตได้ จนโรง
พยาบาลแห่งนั้นต้องมีคำสั่งห้ามนำโทรศัพท์มือถือ เข้าไปในอาคารรักษาพยาบาลคนไข้











ขอขอบคุณที่มา : http://127.0.0.1/hiso/health_news/health_story4_15.php
                          ภาพประกอบจากอินเตอร์เน็ต





 













 
๏ปฟ












เธซเธ™เน‰เธฒเนเธฃเธ | เน€เธเธตเนˆเธขเธงเธเธฑเธšเนเธœเธ™เธ‡เธฒเธ™ | เน€เธ„เธฃเธทเธญเธ‚เนˆเธฒเธขเนเธฅเธฐเธเธดเธˆเธเธฃเธฃเธก | เธœเธฅเธœเธฅเธดเธ•เนเธฅเธฐเธฃเธฒเธขเธ‡เธฒเธ™ | เธ‚เน‰เธญเธกเธนเธฅเธชเธ–เธดเธ•เธด | เธเธฒเธฃเธˆเธฑเธ”เธเธฒเธฃเธ„เธงเธฒเธกเธฃเธนเน‰ | เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ‡เธฒเธ™ | เธ•เธดเธ”เธ•เนˆเธญเนเธœเธ™เธ‡เธฒเธ™ | เน€เธˆเน‰เธฒเธซเธ™เน‰เธฒเธ—เธตเนˆเธ”เธนเนเธฅเธฃเธฐเธšเธš
เนเธ™เธฐเธ™เธณเนเธœเธ™เธ‡เธฒเธ™ | เธ‚เนˆเธฒเธงเธเธดเธˆเธเธฃเธฃเธก | เน€เธเธฒเธฐเธ•เธดเธ”เธเธดเธˆเธเธฃเธฃเธกเน€เธ”เนˆเธ™ | เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ‡เธฒเธ™เธ—เธตเนˆเน€เธเธตเนˆเธขเธงเธ‚เน‰เธญเธ‡ | เธœเธฅเธœเธฅเธดเธ•เนเธฅเธฐเธฃเธฒเธขเธ‡เธฒเธ™| เธฃเธฒเธขเธ‡เธฒเธ™เธชเธธเธ‚เธ เธฒเธž| เธเน‰เธฒเธงเนƒเธซเธกเนˆเธเธฑเธš HISO | เธชเธ–เธฒเธ™เธเธฒเธฃเธ“เนŒเธชเธธเธ‚เธ เธฒเธžเธ›เธฃเธฐเน€เธ—เธจเน„เธ—เธข
เธเธฒเธฃเธงเธดเน€เธ„เธฃเธฒเธฐเธซเนŒเธชเธ–เธฒเธ™เธเธฒเธฃเธ“เนŒเธชเธธเธ‚เธ เธฒเธž | เธชเธ–เธฒเธ™เธเธฒเธฃเธ“เนŒเธ‚เนˆเธฒเธงเธชเธธเธ‚เธ เธฒเธž | เน€เธฃเธทเนˆเธญเธ‡เน€เธฅเนˆเธฒเธ‚เนˆเธฒเธงเธชเธธเธ‚เธ เธฒเธž | เธชเธทเนˆเธญเธ‚เน‰เธญเธกเธนเธฅเธชเธธเธ‚เธ เธฒเธž | เนเธšเธšเธชเธณเธฃเธงเธˆเธชเธธเธ‚เธ เธฒเธž | webbord | เธ„เธณเธ–เธฒเธกเธ—เธตเนˆเธžเธšเธšเนˆเธญเธข | เธชเธกเธธเธ”เน€เธขเธตเนˆเธขเธกเธŠเธก | เธšเธฃเธดเธเธฒเธฃเธ‚เน‰เธญเธกเธนเธฅ