การสาธารณสุขไทย 2548 - 2550

 
จัดทำโดย    สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์
   กระทรวงสาธารณสุข
สนับสนุนโดย    กระทรวงสาธารณสุข
   สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ
   (แผนงานพัฒนาระบบข้อมูลข่าสารสุขภาพ)



 
ส่วนนำ      ส่วนนำ การสาธารณสุขไทย 2548 - 2550
บทที่ 1      พระราชจักรีวงศ์และการสาธารณสุขไทย
        1. พัฒนาการสาธารณสะขในยุคสมัยของพระราชจักรีวงศ์
            1.1 ยุคฟื้นฟูวิทยาการแพทย์แผนไทย (พ.ศ. 2325 - พ.ศ. 2394)
            1.2 ยุคบ้านเมืองเจริญรุ่งเรือง
            1.3 ยุคบุกเบิกของการแพทย์และการสาธารณสุขแผนปัจจุบัน
            1.4 ยุคกำเนิดกระทรวงสาธารณสุข
        2. พระราชกรณียกิจที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพ
บทที่ 2      ข้อมูลพื้นฐานประเทศไทย
        1. ที่ตั้ง อาณาเขตและพรมแดน
        2. ลักษณะภูมิประเทศและภูมิอากาศของไทย
        3. ประชากร ภาษาและศาสนา
        4. เศรษฐกิจ
        5. ระบบการปกครองของไทย
บทที่ 3      นโยบายและยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพของไทย
        1. สิทธิด้านสุขภาพของประชาชน
        2. แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐด้านสุขภาพตามรัฐธรรมนูญ
        3. แผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพของไทย
บทที่ 4      สถานการณ์และแนวโน้มของปัจจัยต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพ
        1. สถานการณ์และแนวโน้มด้านการพัฒนาเศรษฐกิจ
        2. สถานการณ์และแนวโน้มด้านการศึกษา
        3. สถานการณ์แนะแนวโน้มด้านประชากร ครอบครัว และการอพยพย้ายถิ่น
        4. คุณภาพชีวิตของคนไทย
        5. สถานการณ์และแนวโน้มด้านสภาพแวดล้อมในการดำรงชีวิต
        6. สถานการณ์และแนวโน้มด้านการเมืองและการปกครอง
        7. สถานการณ์และแนวโน้มด้านเทคโนโลยี
        8. พฤติกรรมสุขภาพ
บทที่ 5      สถานสุขภาพและปัญหาสุขภาพของคนไทย
        1. ดัชนีชี้วัดสภาวะสุขภาพทั่วไป
        2. ปัญหาสุขภาพที่สำคัญ
        3. บทสังเคราะห์
บทที่ 6      ระบบบริการสุขภาพไทย
        1. กำลังคนด้านสุขภาพ
        2. สถานบริการสุขภาพ
        3. เทคโนโลยีทางสุขภาพ
        4. รายจ่ายด้านสุขภาพ
        5. การเข้าถึงบริการสุขภาพ
        6. ประสิทธิภาพและคุณภาพของการให้บริการสุขภาพ
        7. ความเป็้นธรรมของบริการสุขภาพ
บทที่ 7      การอภิบาลระบบสุขภาพของประเทศไทย
        1. ขอบแขตของระบบสุขภาพแห่งชาติ
        2. องค์ประกอบของระบบสุขภาพแห่งชาติ
        3. กลไกอภิบาลระบบสุขภาพแห่งชาติ
        4. หน่วยงานที่ดำเนินงานด้านสุขภาพ
บทที่ 8      หลักประกันสุขภาพในประเทศไทย
        1. วิวัฒนาการระบบประกันสุขภาพไทยก่อน พ.ศ. 2545
        2. การเปลี่ยนผ่านใน พ.ศ. 2544 ไปสู่การประกันสุขภาพถ้วนหน้า
        3. การพัฒนาระบบย่อยเพื่อสนับสนุนระบบหลักประกันสุขภาพ
        4. ผลสำเร็จของการดำเนินงานสร้างหลักประกันสุขภาพ
บทที่ 9      การปฏิรูประบบสุขภาพแห่งชาติและการกระจายอำนาจด้านสุขภาพ
        1. การปฏิรูประบบสุขภาพแห่งชาติ
        2. การกระจายอำนาจด้านสุขภาพ
บทที่ 10      สุขภาพภาคประชาชนกับการพัฒนาระบบสุขภาพ
        1. กระบวนการ อสม. ที่ขยายตัวและเป็นผู้หญิงมากขึ้น
        2. บทบาทของ อสม.
        3. ศักยภาพของชมรม อสม. ระดับจังหวัด
        4. จุดแข็ง อสม.
        5. รูปแบบอาสาสมัครสุขภาพที่มีความหลากหลายในชุมชน
        6. คุณค่า อสม. ในงานพัฒนาสุขภาพชุมชน
        7. อุปสรรคการทำงานของ อสม.
        8. บทสรุป
บทที่ 11      ระบบเฝ้าระวังควบคุมโรคและภัยที่เป็นภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข
        1. ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข
        2. กฎอนามัยระหว่างประเทศและการตอบสนองต่อภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข
        3. ระบบการเฝ้าระวังโรคติดต่อและพัฒนาการในประเทศไทย
        4. หน่วยหรือทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว
        5. กรณีศึกษาการเฝ้าระวังโรค/ภัยสุขภาพเพื่อตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข
        6. สรุปบทเรียนและข้อเสนอแนะ
 
     เอกสารอ้างอิง




รายงานถูก Download ทั้งหมด จำนวน ครั้ง



กลับสู่ด้านบน