picture



picture
รายงานการสาธารณสุขไทย 2559 - 2560

บรรณาธิการ  นพ.วิวัฒน์ โรจนพิทยากร
ผู้รับผิดชอบโครงการ  ดร.นพ.พงศธร พอกเพิ่มดี , นพ. ชัยพร สุชาติสุนทร


กระทรวงสาธารณสุข โดยกองยุทธศาสตร์และแผนงาน สำนักงานปลัดกระทรวง สาธารณสุขได้จัดทำรายงานการสาธารณสุขไทย (Thailand Health Profile) เป็นประจำทุก 2 ปี และสำหรับ ฉบับน้ีเป็นฉบับท่ี 8 (พ.ศ. 2559-2560) ซึ่งเนื้อหายังคงต่อเนื่องจากฉบับก่อนและมีเนื้อหาเพิ่มเติมเกี่ยวกับสถานการณ์ด้านสุขภาพท่ีเป็นประเด็นสำคัญในปัจจุบัน

สำหรับสาระสำคัญในรายงานฉบับน้ี ได้จากการทบทวนสถานการณ์ที่เก่ียวข้องกับระบบสาธารณสุขทั้ง ในประเทศและต่างประเทศ โดยผ่านกระบวนการสังเคราะห์และวิเคราะห์จากผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้เช่ียวชาญสาขาต่างๆ ครอบคลุมทุกมิติ อาทิ วิวัฒนาการการสาธารณสุขของไทย สถานการณ์และแนวโน้มด้านสุขภาพ ระบบสุขภาพของ ประเทศ กรอบนโยบายและยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพของไทยในยุค 4.0 และขัอมูลสุขภาพด้านอื่นๆ อีกมากมาย ซึ่ง จะเป็นประโยชน์ในการสร้างเสริมความรู้เก่ียวกับงานสาธารณสุขของประเทศไทย และเป็นแหล่งข้อมูลสำหรับการ อ้างอิงในด้านต่างๆ ท่ีเกี่ยวข้อง



จัดทำโดย    กองยุทธศาสตร์และแผนงาน สําานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
สนับสนุนโดย    สํานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
สารบัญรายงานการสาธารณสุขไทย 2559 - 2560

  ส่วนนำรายงานการสาธารณสุขไทย 2559 - 2560
คำนำ , รายนามผู้จัดทำเฉพาะบท , สารบัญตาราง , สารบัญภาพ
  บทที่ 1 พระราชวงศ์จักรีกับการสาธารณสุขไทย
1. การแพทย์และสาธารณสุขไทยก่อนยุคกรุงรัตนโกสินทร์
2. การสร้างกรุงรัตนโกสินทร์และการฟื้นฟูการแพทย์และสาธารณสุขไทยในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช (พ.ศ. 2325-2352)
3. รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย (พ.ศ. 2352-2367)
4. รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (พ.ศ. 2367–2394)
5. รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (พ.ศ. 2394–2411)
6. รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (พ.ศ. 2411–2453)
7. รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (พ.ศ. 2453–2468)
8. รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (พ.ศ. 2465-2477)
9. รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล (พ.ศ. 2477-2489)
10. รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (พ.ศ. 2489–2559)
11. รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร
12. ภารกิจด้านสาธารณสุขของพระบรมวงศานุวงศ์ในรัชสมัย
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (รัชกาลที่ 9) และ
พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร
  บทที่ 2 ข้อมูลพื้นฐานประเทศไทย
1. ที่ตั้ง อาณาเขต และพรมแดน
2. ลักษณะภูมิประเทศและภูมิอากาศของไทย
3. ประชากร ภาษา ศาสนา
3. เศรษฐกิจ
4. ระบบการปกครองของไทย
  บทที่ 3 วิวัฒนาการการสาธารณสุขไทย
1. บทนำ
2. วิวัฒนาการการสาธารณสุขโลกโดยสังเขป
3. วิวัฒนาการการสาธารณสุขไทยก่อนยุคกรุงรัตนโกสินทร์
4. การสาธารณสุขในยุคต้นรัตนโกสินทร์
5. การสาธารณสุขไทยกับรัฐสมัยใหม่
6. การสาธารณสุขไทยยุคสงครามเย็น
7. การสาธารณสุขในยุคโลกาภิวัตน์
8. บทสรุป
  บทที่ 4 สถานการณ์แนวโน้มของสถานะสุขภาพและปัจจัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
1. สถานการณ์แนวโน้มด้านการพัฒนาเศรษฐกิจ
2. สถานการณ์และแนวโน้มด้านสังคม
3. สถานการณ์และแนวโน้มด้านประชากร ครอบครัวและการอพยพย้ายถิ่น
4. ปัญหาสุขภาพที่สาคัญ และคุณภาพชีวิตของคนไทย
5. สถานการณ์ของปัจจัยทางสังคมที่กาหนดสุขภาพ (social determinants of health: SDH)
6. สถานการณ์และแนวโน้มด้านสภาพแวดล้อมในการดารงชีวิต
7. สถานการณ์และแนวโน้มด้านการเมืองการปกครอง
8. สถานการณ์ด้านวัฒนธรรมและประเพณีไทยกับปัญหาสุขภาพ
9. พฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับปัญหาสุขภาพที่สาคัญของประเทศไทย
10. สถานการณ์และแนวโน้มด้านเทคโนโลยีที่มีผลต่อการสาธารณสุข
  บทที่ 5 ระบบสุขภาพของประเทศไทย
1. ความหมายของระบบสุขภาพ
2. องค์ประกอบของระบบสุขภาพ
3. การปฏิรูปแบบการอภิบาลระบบสุขภาพ
4. หน่วยงานที่ดำเนินงานด้านสุขภาพ
5. บทสรุประบบสุขภาพของประเทศไทย
6. ระบบบริการสุขภาพของประเทศไทย
7. การบริการด้านสุขภาพ
8. กำลังคนด้านสุขภาพ
9. ยา เวชภัณฑ์ และเทคโนโลยีด้านสุขภาพ
10. การเงินการคลังด้านสุขภาพ
11. ระบบข้อมูลข่าวสารด้านสุขภาพ
12. การเข้าถึงบริการสุขภาพ
13. ประสิทธิภาพและคุณภาพของการใช้บริการสุขภาพ
14. ความเป็นธรรมของบริการสุขภาพ
15. ปัญหาสุขภาพที่สำคัญ
  บทที่ 6 กรอบนโยบายและยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพของไทย 4.0 และนโยบายสาธารณะทุกภาคส่วน (Health in all)
1. การปฏิรูประบบสาธารณสุขภายใต้รัฐธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ
2. กรอบนโยบายและยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพของไทย 4.0
3. บทบาทของภาคส่วนต่างๆ ในงานพัฒนาสุขภาพ
  บทที่ 7 การพัฒนานโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วม
1. นโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วม
2. พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550 กับการพัฒนานโยบายสาธารณะ
3. บทสรุป
  บทที่ 8 ผลสัมฤทธิ์และควำมท้ำทำยของระบบหลักประกันสุขภำพถ้วนหน้ำ ในประเทศไทย

1. พัฒนาการของระบบประกันสุขภาพในประเทศไทย
2. ผลสัมฤทธิ์ของการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
3. การพัฒนาศักยภาพและความเข้มแข็งของระบบสุขภาพของประเทศไทย
4. ความท้าทายของระบบประกันสุขภาพ
5. บทสรุปและการพัฒนาระบบหลักประกันสุขภาพไทยในอนาคต
6. ข้อเสนอแนะ
  บทที่ 9 การสาธารณสุขชุมชนและท้องถิ่น
1. การมีส่วนร่วมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกับระบบสุขภาพไทย
2. ระบบบริการสุขภาพปฐมภูมิเขตเมือง
3. คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
4. อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับพื้นที่
5. กองทุนสุขภาพตำบล: เครื่องมือสร้างการมีส่วนร่วมในการพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน
6. สุขภาพภาคประชาชนกับการพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน
7. ระบบการดูแลสุขภาพในครอบครัว (Home Health Care)
  บทที่ 10 ประเทศไทยกับเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน
1. เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย
2. โครงสร้างการดาเนินงานไปสู่เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนด้านสุขภาพ
3. บทบาทของกระทรวงสาธารณสุขและภาคีเครือข่ายในการดาเนินงานตามเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนด้านสุขภาพ
  บทที่ 11 ประเทศไทยกับการพัฒนาระบบสุขภาพโลก
1. ปัญหาและแนวโน้มสุขภาพในระดับโลก
2. เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนและเป้าหมายด้านสุขภาพที่สาคัญในระดับภูมิภาค
3. นิยามและพหุมิติของระบบสุขภาพโลก
4. ภูมิทัศน์และกลไกการอภิบาลสุขภาพโลก
5. ภูมิทัศน์สุขภาพโลกในประเทศไทยและกลไกการอภิบาล
6. บทบาทของประเทศไทยด้านสุขภาพโลก
7. กรอบยุทธศาสตร์สุขภาพโลกของประเทศไทย พ.ศ. 2559–2563
8. ความก้าวหน้าของงานสุขภาพโลกในประเทศไทย
9. การพัฒนาขีดความสามารถของประเทศไทยด้านสุขภาพโลกอย่างเป็นระบบ
10. การพัฒนาขีดความสามารถของประเทศไทยด้านสุขภาพโลกอย่างเป็นระบบ (จากระดับบุคคลสู่ระดับสถาบัน)
11. ก้าวต่อไป
  บทที่ 12 การขับเคลื่อนงานป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อในประเทศไทย
1. บทนำ
2. ความจำเป็นที่จะต้องดำเนินการป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อ
3. การดำเนินการป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อ
  บทที่ 13 การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรคและคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ ในประเทศไทย
1. งานส่งเสริมสุขภาพของประเทศไทย
2. งานป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในประเทศไทยและระบบการจัดการโรคติดต่อในประเทศไทย
2. การคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ
  บทที่ 14 ระบบควบคุมโรคและภัยสุขภาพที่เป็นภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข
1. สาธารณภัย
2. การดำเนินงานทีมเฝ้าระวังสอบสวนโรคเคลื่อนที่เร็ว (Surveillance and Rapid Response Team: SRRT)
3. ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข (Public Health Emergency)
4. การบริหารจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข (Public Health Emergency Management : PHEM)
5. แผนการจัดการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และการสาธารณสุขแบบบูรณาการท่ีครบวงจรและมีเอกภาพ พ.ศ. 2560–2564
6. กรอบความเชื่อมโยงในการจัดทำแผนการจัดการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และการสาธารณสุขแบบบูรณาการ พ.ศ. 2560–2564
7. แผนการจัดการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และการสาธารณสุขแบบบูรณาการ พ.ศ. 2560–2564
8. ระบบบัญชาการณ์เหตุการณ์
9. ความเป็นมาของระบบการบัญชาการเหตุการณ์
10. การดำเนินงานทีมเฝ้าระวังสอบสวนโรคเคลื่อนที่เร็ว (Surveillance and Rapid Response Team: SRRT)
  บทที่ 15 ดัชนีชี้วัดสภาวะสุขภาพของคนไทย
1. ดัชนีชี้วัดสภาวะสุขภาพทั่วไป
2. ปัญหาสุขภาพที่สาคัญ
  บทที่ 16 บทสรุปการสาธารณสุขไทย
1. สถานการณ์ด้านสุขภาพที่เปลี่ยนไป
2. อุบัติการณ์ของปัญหาสาธารณสุข และการเปลี่ยนแปลงของภาวะความเจ็บป่วย หรือโรคภัยไข้เจ็บของประชาชน
3. โครงสร้างทางสาธารณสุขที่ทาหน้าที่ตอบสนองต่อปัญหาทางสาธารณสุขของประชาชน
4. ทิศทางการดำเนินงานด้านสาธารณสุขของประเทศ
5. การสร้างเสริมนวัตกรรมสุขภาพเพื่อการพัฒนางานสาธารณสุขอย่างยั่งยืน
  บรรณานุกรม