HISO - เรื่องเล่าข่าวเด่น

  
   Follow us      
  
กรุงเทพธุรกิจ [ วันที่ 24/12/2555 ]
โรคอ้วนเพชฌฆาตเงียบอย่าชะล่าใจ

อาการเหนื่อยง่าย หายใจลำบาก เวลานอนหลับ หรือปวดศีรษะในตอนเช้า ง่วงนอนตอนกลางวัน เหล่านี้คือสัญญาณเตือนควรพบแพทย์
          โรคอ้วน เป็นภาวะทีร่างกายมีปริมาณไขมันสะสมมากกว่าปกติ และเป็นหนึงในปัจจัยเสียงทีสำคัญต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อ เช่น โรคเบาหวาน ความดันสูงไขมันในเลือดผิดปกติ และโรคหลอดเลือดหัวใจ จึงไม่ควรชะล่าใจ เพราะหากปล่อยไว้ในระยะยาวจะมีโรคเรือรังตามมา
          พญ.ชนันภรณ์ วิพุธศิริ อายุรแพทย์ด้านต่อมไร้ท่อและเมตาบอลิสม ศูนย์เบาหวานไทรอยด์และต่อมไร้ท่อกรุงเทพโรงพยาบาลกรุงเทพ ให้ข้อมูลว่าความชุกของโรคอ้วนผู้หญิงจะอ้วนกว่าผู้ชาย ช่วงอายุทีอ้วนมากทีสุดอยู่ทีอายุ45-49 ปี โดยนำหนักจะเพิมขึนเป็น 2 เท่าของอายุในช่วง5-14 ปี โดยเฉพาะในประเทศทีพัฒนาแล้วจะมีภาวะโรคอ้วนสูง
          ผลกระทบทางสุขภาพภาวะโรคอ้วนมีมากมาย ทังผลกระทบเฉียบพลันและปัญหาเรือรัง ทังปัญหาสุขภาพกายและสุขภาพจิต จากโรคทีต้องเผชิญ เช่น โรคหลอดเลือดหัวใจโรคความดันโลหิตสูง ปวดเข่า ปวดข้อ มีไขมันเกาะตับโรคเบาหวาน ภาวะไขมันในเลือดสูงและโรคหลอดเลือดสมองภาวะโรคอ้วนจึงมีผลทำให้ปีสุขภาวะ "ลดลง" จากการเกิดโรคแทรกซ้อนต่าง ๆ ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตลดลง ในขณะทีค่าใช้จ่ายทางสุขภาพเพิมขึนจากภาวะพิการและการตายก่อนวัยอันควร
          สาเหตุของโรคอ้วนมีหลายสาเหตุ หนึงเกิดจากกรรมพันธุ์ สองเกิดจากพฤติกรรมการรับประทานอาหารทีมีไขมันสูงอาหารจานด่วน ทานอาหารขบเคียวระหว่างนังดูโทรทัศน์ทำให้นำหนักขึน การทำงานแบบนังโต๊ะและความอ้วนทีมีสาเหตุจากโรคได้แก่ เช่น โรคไทรอยด์ทำงานตำโรคขาดฮอร์โมนการเจริญเติบโตหรือผลข้างเคียงจากการรับประทานยาสเตียรอยด์
          "แนวโน้มของความอ้วนมักเกิดขึนกับคนทังครอบครัวมาจากรูปแบบการกินทีคล้ายคลึงกัน เพราะถูกปลูกฝังเลียงดูในสิงแวดล้อมและพฤติกรรมเดียวกัน เช่นชอบกินอาหารทีมีไขมันสูงและไม่ออกกำลังกาย"
          หลายคนอาจสงสัยว่า รู้ได้อย่างไรว่าเข้าข่ายอ้วนแล้วสำหรับคนไทย โดยปกติผู้ชายไม่ควรมีรอบเอวเกิน 90 เซนติเมตรส่วนผู้หญิงไม่ควรเกิน 80 เซนติเมตร นอกจากนียังมีวิธีหนึงคือใช้ความสูงของตนเอง ดูนำหนักเทียบกับส่วนสูง ผู้ชายส่วนสูงเป็นเซนติเมตรลบ 100 ผู้หญิงส่วนสูงเป็นเซนติเมตรลบ 110 จะเป็นนำหนัก(กิโลกรัม)ทีเหมาะสม ยกตัวอย่างผู้ชายสูง 170 เซนติเมตรลบ 100 เท่ากับ 70 หมายความว่า ผู้ชายคนนีไม่ควรมีนำหนักเกิน 70 กิโลกรัม
          การดูดัชนีมวลกาย (Body Mass Index - BMI) เป็นค่าดัชนีความสัมพันธ์ระหว่างส่วนสูงและนำหนักตัวโดยคำนวณจากนำหนักตัว (กิโลกรัม) หารด้วยความสูง (เมตรยกกำลังสอง หรือตารางเมตร) เพือใช้เป็นแบบคัดกรองภาวะนำหนักเกินและโรคอ้วน โดยค่าดัชนีมวลกายสำหรับประชากรในเอเชียมากกว่าหรือเท่ากับ 23 กิโลกรัม/ตารางเมตรแสดงว่าเริมมีภาวะนำหนักเกิน และค่าดัชนีมวลกายทีมากกว่าหรือเท่ากับ 25 กิโลกรัม/ตารางเมตรหมายถึงโรคอ้วน
          ทางโรงพยาบาลกรุงเทพ มีอุปกรณ์ในการช่วยวิเคราะห์ เรียกว่า Bioelectrical impedance เป็นการวัดสารนำในร่างกายแล้วมาคำนวณเป็นร้อยละของไขมันในร่างกายโดยก่อนทำควรงดนำงดอาหารอย่างน้อย 3 ชัวโมงปัสสาวะก่อน ประโยชน์ของ Bioelectrical impedance ในกรณีผู้ทีมีภาวะอ้วน คือผู้ป่วยจะได้เห็นภาพการวิเคราะห์ทีชัดเจนผ่านรูปภาพ จะเห็นความต่อเนืองของพัฒนาการตัวหลังจากปรับเปลียนพฤติกรรม ตามคำแนะนำของแพทย์ได้ เหมาะสมกับสภาพร่างกายของตนเอง
          พญ.ชนันภรณ์ แนะนำว่า หากพบว่าตนเองนำหนักเกินต้องคุมอาหาร เปลียนมารับประทานผัก ผลไม้เพือเพิมไฟเบอร์เยอะขึน ลดอาหารทีมีไขมันสูง รับประทานโปรตีนให้เพียงพอ แต่ละมือสามารถรับประทานคาร์โบไฮเดรตได้5-6 ส่วน แล้วแต่นำหนักและส่วนสูงของแต่ละคน แบ่งเป็นข้าว 1 ทัพพีปาด ผักอีก 2 กำมือ โปรตีน 2-3 ช้อนโต๊ะต่อมือ ทีเหลืออาจจะเป็นนมจืด พร่องมันเนย 1 กล่อง หรือผลไม้ 1 ผลกลาง
          "ถ้าแต่ละมือรับประทานได้ในสัดส่วนเท่านี และรับประทานแค่พออิม จะเป็นผลดีต่อสุขภาพอาหารแต่ละกลุ่มนอกจากมีคุณประโยชน์ทางโภชนาการทัวไปแล้ว ยังให้พลังงานทีเหมาะสมแก่ร่างกายด้วย ถ้าลดแคลอรีได้วันละ 500 กิโลแคลอรี นำหนักตัวจะลดลงประมาณ 0.5 -1 กิโลกรัมต่อสัปดาห์"
          การวางแผนกินอาหารสำหรับผู้ทีต้องการจะลดนำหนักจึงถือเป็นเรืองสำคัญ ในอาหารทุกๆ มือ ควรเลือกอาหารไขมันตำดัชนีนำตาลตำใยอาหารสูงและคุณค่าทางโภชนาการสูงและหลีกเลียงอาหารทีมีไขมันและดัชนีนำตาลสูง
          หลักการง่ายๆ คือควบคุมปริมาณพลังงานทีจะได้รับจากอาหาร ต้องลดปริมาณทีเคยรับประทานมากๆ ให้น้อยลง ออกกำลังกายให้สมำเสมอ คิดง่ายๆคือคำนวณแคลอรีทีใช้ในการออกกำลังกาย กับแคลอรีทีได้รับจากการบริโภคอาหาร พยายามให้ "สมดุล" กันและทีต้องไม่ลืมนันคือการออกกำลังกายทุกครังไม่ควรตำกว่า 30 นาทีต่อวัน (5 วันต่อสัปดาห์) เช่น วิง ว่ายนำ เล่นเทนนิส
          การออกกำลังกายต้องทำติดต่อกันนานพอจึงจะกระตุ้นให้ร่างกายใช้พลังงานจากการสันดาปหรือเผาผลาญออกซิเจนกับสารอาหารในเซลล์เพิมขึนจากภาวะปกติจนสามารถกระตุ้นพัฒนาการของอวัยวะต่างๆ ทีใช้ในการดำรงชีวิตได้อย่างมีประสิทธิภาพ อาทิ หัวใจ หลอดเลือด ปอดข้อต่อกระดูก และกล้ามเนื้อ
          สนับสนุนข้อมูลโดย ศูนย์เบาหวาน
          ไทรอยด์ และต่อมไร้ท่อกรุงเทพ โรงพยาบาลกรุงเทพ โทร.1719
 


pageview  1205463    
สำนักงานพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ Health Information System Development Office (HISO)
ห้อง A3 ชั้น 3 อาคาร 4Plus Buiding เลขที่ 56/22-24 ซอยงามวงศ์วาน 4 ต.บางเขน อ.เมือง จ.นนทบุรี 11000
Tel : 02-5892490-2 Fax : 02-5892493 www.healthinfo.in.th
 
© Health Information System Development Office (HISO) . All Rights Reserved