HISO - เรื่องเล่าข่าวเด่น

  
   Follow us      
  
ไทยโพสต์ [ วันที่ 10/05/2555 ]
NGOยื่น9ข้อจี้'ปู'สางมาบตาพิษ

ระยอง *กมธ.สิ่งแวดล้อมบุกมาบตาพุดติดตามผลกระทบสารเคมีรั่ว "แกนนำเครือข่ายประชาชนภาคตะวันออก" เตรียมบุกทำเนียบฯ 15 พ.ค. จี้นายกฯ สางปมมาบตาพิษ ยื่น9 ข้อเรียกร้องขจัดความเสี่ยงทั้งระบบ พร้อมขอทราบข้อเท็จจริงเหตุการณ์
          เมื่อวันที่9 พ.ค. นายนริศ ขำนุรักษ์ ประธานคณะกรรมาธิ การที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สภาผู้แทนราษฎร พร้อมด้วยนายวิชัย ล้ำสุทธิ รองกรรมาธิการฯ และคุณหญิงกัลยา โสภณพนิช กรรมาธิการฯ ลงพื้นที่มาบตาพุดติดตามสถานการณ์ หลังเกิดเหตุระเบิดบริษัท บีเอสที อิลาสโตเมอร์ส จำกัด และกรณีสารเคมีรั่วไหลของบริษัท อดิตยา เบอร์ล่า เคมีคัลส์ (ประเทศไทย) จำกัด
          ผู้สื่อข่าวรายงานว่าการลง พื้นที่ของกรรมาธิการที่ดิน ทรัพยา กรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมครั้งนี้ ได้มีหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง อาทิ การนิคมอุตสาหกรรม, สาธารณสุข, กรมควบคุมมลพิษ นำข้อมูลมารายงานผลการทำงาน รวมทั้งมี แกนนำและชาวบ้านชุมชนบ้านตา กวน, มาบชะลูด ซึ่งอยู่ใกล้กับที่เกิดเหตุ เรียกร้องให้มีศูนย์เตือนภัย และจุดที่ให้ข้อมูลชัดเจนตรงกันทันท่วงทีในขณะเกิดเหตุ
          วันเดียวกัน นายสุทธิ อัช ฌาศัย แกนนำเครือข่ายประชาชนภาคตะวันออก พร้อมด้วยเครือข่ายกว่า 50 คน แถลงข่าวกำหนดท่าทีการเคลื่อนไหวต่อกรณีเหตุระเบิดโรงงานบีเอสที และเหตุสารเคมีรั่วไหลจากบริษัท อดิตยา เบอร์ล่า เคมีคัลส์ (ประเทศไทย) จำกัด
          นายสุทธิกล่าวว่า การเคลื่อนไหวของเครือข่ายจะเรียกร้อง 9 ข้อหลัก คือ 1.ขอให้เปิดเผยข้อเท็จ จริงของเหตุการณ์ทั้งหมดอย่าง โปร่งใสต่อสาธารณชน เช่น มูลเหตุ การจัดการสถานการณ์ที่เกิดขึ้น ผู้เสียชีวิต และผู้บาดเจ็บ 2.ให้รัฐ บาลและโรงงานอุตสาหกรรม นำแผนป้องกันและบรรเทาสาธารณ ภัยแห่งชาติ พ.ศ.2553-2557 มาบังคับใช้ให้เกิดการปฏิบัติอย่างจริงจัง 3.ฟื้นฟูและบำบัดเหตุการณ์ ที่เกิดขึ้นอย่างเป็นระบบในด้าน ต่างๆ เช่น สิ่งแวดล้อม, ทรัพยา กรธรรมชาติ, สุขภาพ และสังคม
          นอกจากนี้ 4.สร้างระบบการ ชดเชยเยียวยาอย่างเป็นระบบ เป็นธรรม และยั่งยืน ต่อผู้ได้รับผลกระ ทบทุกกลุ่ม เช่น สวัสดิการแก่ผู้เสียหายโดยตรง ผู้ได้รับผลกระทบทาง อ้อม กลุ่มอาชีพต่างๆ เช่น ประมง พื้นบ้าน 5.ดำเนินคดีทางกฎหมาย ต่อหน่วยงานที่กระทำผิดฐานละเลย 6.จัดทำประกาศผังเมืองรวม อย่างมีประสิทธิภาพ 7.ทำบัญชีการถือ ครองวัตถุอันตราย บัญชีการระบาย มลพิษ และแจ้งข้อมูลให้ประชาชน หน่วยงานสาธารณสุขรับทราบ 8. ทบทวน ระงับนโยบายการลงทุนอุตสาหกรรมปิโตรเคมี ทั้งในนิคมและนอกนิคม อาทิ จ.ระยอง และ จ.ชลบุรี และ 9.เปิดเผยรายชื่อคณะกรรมการไตรภาคีที่จะทำการตรวจสอบโรงงานทั้งหมดต่อสาธารณะ
          "นอกจาก 9 ข้อเรียกร้องดังกล่าวแล้ว ทางกลุ่มจะมีการเคลื่อนไหวต่อโดยในวันที่ 12 พ.ค. นี้ เวลา 09.00 น. ทางกลุ่มจะยื่นหนังสือต่อผู้ว่าการนิคมอุตสาหกรรมฯ (กนอ.) จากนั้นจะร่วมกันปลูกต้นกล้วยหน้าสำนักงานนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด เนื่องจากที่ผ่านมากลุ่มชาวบ้านเคยเรียกร้องให้มีการปลูกต้นไม้เพื่อเป็นเขตbumper  zone (พื้นที่กันชน) แต่ไม่มีการดำเนินการใดๆ เลย จึงมาแสดงให้เห็นว่าการปลูกต้นไม้ไม่น่าจะยุ่งยาก และหลังจากนั้นจะเดินทางไปแจ้งความดำเนินคดีทั้งอาญาและแพ่งกับ กนอ., บอร์ดของ บ.บีและแพ่งกับ กนอ., บอร์ดของ บ.บีเอสทีฯ และบอร์ดของ บ.อดิตยาฯ ที่ สภ.มาบตาพุด" นายสุทธิกล่าว
          แกนนำเครือข่ายประชาชนภาคตะวันออกกล่าวว่า ในวันที่ 15 พ.ค.จะเดินทางเข้า กทม.เพื่อยื่นหนังสือร้องเรียนต่อนายกรัฐมนตรีที่ทำ เนียบรัฐบาล, นายสุรชัย เลี้ยงบุญเลิศชัย คณะกรรมาธิการสิ่งแวดล้อม วุฒิสภา, กทม., องค์กรอิสระด้านสิ่ง แวดล้อมและสุขภาพ และนายแพทย์ นิรันดร์ พิทักษ์วัชระ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ.ระยอง *กมธ.สิ่งแวดล้อมบุกมาบตาพุดติดตามผลกระทบสารเคมีรั่ว "แกนนำเครือข่ายประชาชนภาคตะวันออก" เตรียมบุกทำเนียบฯ 15 พ.ค. จี้นายกฯ สางปมมาบตาพิษ ยื่น9 ข้อเรียกร้องขจัดความเสี่ยงทั้งระบบ พร้อมขอทราบข้อเท็จจริงเหตุการณ์
          เมื่อวันที่9 พ.ค. นายนริศ ขำนุรักษ์ ประธานคณะกรรมาธิ การที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สภาผู้แทนราษฎร พร้อมด้วยนายวิชัย ล้ำสุทธิ รองกรรมาธิการฯ และคุณหญิงกัลยา โสภณพนิช กรรมาธิการฯ ลงพื้นที่มาบตาพุดติดตามสถานการณ์ หลังเกิดเหตุระเบิดบริษัท บีเอสที อิลาสโตเมอร์ส จำกัด และกรณีสารเคมีรั่วไหลของบริษัท อดิตยา เบอร์ล่า เคมีคัลส์ (ประเทศไทย) จำกัด
          ผู้สื่อข่าวรายงานว่าการลง พื้นที่ของกรรมาธิการที่ดิน ทรัพยา กรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมครั้งนี้ ได้มีหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง อาทิ การนิคมอุตสาหกรรม, สาธารณสุข, กรมควบคุมมลพิษ นำข้อมูลมารายงานผลการทำงาน รวมทั้งมี แกนนำและชาวบ้านชุมชนบ้านตา กวน, มาบชะลูด ซึ่งอยู่ใกล้กับที่เกิดเหตุ เรียกร้องให้มีศูนย์เตือนภัย และจุดที่ให้ข้อมูลชัดเจนตรงกันทันท่วงทีในขณะเกิดเหตุ
          วันเดียวกัน นายสุทธิ อัช ฌาศัย แกนนำเครือข่ายประชาชนภาคตะวันออก พร้อมด้วยเครือข่ายกว่า 50 คน แถลงข่าวกำหนดท่าทีการเคลื่อนไหวต่อกรณีเหตุระเบิดโรงงานบีเอสที และเหตุสารเคมีรั่วไหลจากบริษัท อดิตยา เบอร์ล่า เคมีคัลส์ (ประเทศไทย) จำกัด
          นายสุทธิกล่าวว่า การเคลื่อนไหวของเครือข่ายจะเรียกร้อง 9 ข้อหลัก คือ 1.ขอให้เปิดเผยข้อเท็จ จริงของเหตุการณ์ทั้งหมดอย่าง โปร่งใสต่อสาธารณชน เช่น มูลเหตุ การจัดการสถานการณ์ที่เกิดขึ้น ผู้เสียชีวิต และผู้บาดเจ็บ 2.ให้รัฐ บาลและโรงงานอุตสาหกรรม นำแผนป้องกันและบรรเทาสาธารณ ภัยแห่งชาติ พ.ศ.2553-2557 มาบังคับใช้ให้เกิดการปฏิบัติอย่างจริงจัง 3.ฟื้นฟูและบำบัดเหตุการณ์ ที่เกิดขึ้นอย่างเป็นระบบในด้าน ต่างๆ เช่น สิ่งแวดล้อม, ทรัพยา กรธรรมชาติ, สุขภาพ และสังคม
          นอกจากนี้ 4.สร้างระบบการ ชดเชยเยียวยาอย่างเป็นระบบ เป็นธรรม และยั่งยืน ต่อผู้ได้รับผลกระ ทบทุกกลุ่ม เช่น สวัสดิการแก่ผู้เสียหายโดยตรง ผู้ได้รับผลกระทบทาง อ้อม กลุ่มอาชีพต่างๆ เช่น ประมง พื้นบ้าน 5.ดำเนินคดีทางกฎหมาย ต่อหน่วยงานที่กระทำผิดฐานละเลย 6.จัดทำประกาศผังเมืองรวม อย่างมีประสิทธิภาพ 7.ทำบัญชีการถือ ครองวัตถุอันตราย บัญชีการระบาย มลพิษ และแจ้งข้อมูลให้ประชาชน หน่วยงานสาธารณสุขรับทราบ 8. ทบทวน ระงับนโยบายการลงทุนอุตสาหกรรมปิโตรเคมี ทั้งในนิคมและนอกนิคม อาทิ จ.ระยอง และ จ.ชลบุรี และ 9.เปิดเผยรายชื่อคณะกรรมการไตรภาคีที่จะทำการตรวจสอบโรงงานทั้งหมดต่อสาธารณะ
          "นอกจาก 9 ข้อเรียกร้องดังกล่าวแล้ว ทางกลุ่มจะมีการเคลื่อนไหวต่อโดยในวันที่ 12 พ.ค. นี้ เวลา 09.00 น. ทางกลุ่มจะยื่นหนังสือต่อผู้ว่าการนิคมอุตสาหกรรมฯ (กนอ.) จากนั้นจะร่วมกันปลูกต้นกล้วยหน้าสำนักงานนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด เนื่องจากที่ผ่านมากลุ่มชาวบ้านเคยเรียกร้องให้มีการปลูกต้นไม้เพื่อเป็นเขตbumper  zone (พื้นที่กันชน) แต่ไม่มีการดำเนินการใดๆ เลย จึงมาแสดงให้เห็นว่าการปลูกต้นไม้ไม่น่าจะยุ่งยาก และหลังจากนั้นจะเดินทางไปแจ้งความดำเนินคดีทั้งอาญาและแพ่งกับ กนอ., บอร์ดของ บ.บีและแพ่งกับ กนอ., บอร์ดของ บ.บีเอสทีฯ และบอร์ดของ บ.อดิตยาฯ ที่ สภ.มาบตาพุด" นายสุทธิกล่าว
          แกนนำเครือข่ายประชาชนภาคตะวันออกกล่าวว่า ในวันที่ 15 พ.ค.จะเดินทางเข้า กทม.เพื่อยื่นหนังสือร้องเรียนต่อนายกรัฐมนตรีที่ทำ เนียบรัฐบาล, นายสุรชัย เลี้ยงบุญเลิศชัย คณะกรรมาธิการสิ่งแวดล้อม วุฒิสภา, กทม., องค์กรอิสระด้านสิ่ง แวดล้อมและสุขภาพ และนายแพทย์ นิรันดร์ พิทักษ์วัชระ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ.ระยอง *กมธ.สิ่งแวดล้อมบุกมาบตาพุดติดตามผลกระทบสารเคมีรั่ว "แกนนำเครือข่ายประชาชนภาคตะวันออก" เตรียมบุกทำเนียบฯ 15 พ.ค. จี้นายกฯ สางปมมาบตาพิษ ยื่น9 ข้อเรียกร้องขจัดความเสี่ยงทั้งระบบ พร้อมขอทราบข้อเท็จจริงเหตุการณ์
          เมื่อวันที่9 พ.ค. นายนริศ ขำนุรักษ์ ประธานคณะกรรมาธิ การที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สภาผู้แทนราษฎร พร้อมด้วยนายวิชัย ล้ำสุทธิ รองกรรมาธิการฯ และคุณหญิงกัลยา โสภณพนิช กรรมาธิการฯ ลงพื้นที่มาบตาพุดติดตามสถานการณ์ หลังเกิดเหตุระเบิดบริษัท บีเอสที อิลาสโตเมอร์ส จำกัด และกรณีสารเคมีรั่วไหลของบริษัท อดิตยา เบอร์ล่า เคมีคัลส์ (ประเทศไทย) จำกัด
          ผู้สื่อข่าวรายงานว่าการลง พื้นที่ของกรรมาธิการที่ดิน ทรัพยา กรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมครั้งนี้ ได้มีหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง อาทิ การนิคมอุตสาหกรรม, สาธารณสุข, กรมควบคุมมลพิษ นำข้อมูลมารายงานผลการทำงาน รวมทั้งมี แกนนำและชาวบ้านชุมชนบ้านตา กวน, มาบชะลูด ซึ่งอยู่ใกล้กับที่เกิดเหตุ เรียกร้องให้มีศูนย์เตือนภัย และจุดที่ให้ข้อมูลชัดเจนตรงกันทันท่วงทีในขณะเกิดเหตุ
          วันเดียวกัน นายสุทธิ อัช ฌาศัย แกนนำเครือข่ายประชาชนภาคตะวันออก พร้อมด้วยเครือข่ายกว่า 50 คน แถลงข่าวกำหนดท่าทีการเคลื่อนไหวต่อกรณีเหตุระเบิดโรงงานบีเอสที และเหตุสารเคมีรั่วไหลจากบริษัท อดิตยา เบอร์ล่า เคมีคัลส์ (ประเทศไทย) จำกัด
          นายสุทธิกล่าวว่า การเคลื่อนไหวของเครือข่ายจะเรียกร้อง 9 ข้อหลัก คือ 1.ขอให้เปิดเผยข้อเท็จ จริงของเหตุการณ์ทั้งหมดอย่าง โปร่งใสต่อสาธารณชน เช่น มูลเหตุ การจัดการสถานการณ์ที่เกิดขึ้น ผู้เสียชีวิต และผู้บาดเจ็บ 2.ให้รัฐ บาลและโรงงานอุตสาหกรรม นำแผนป้องกันและบรรเทาสาธารณ ภัยแห่งชาติ พ.ศ.2553-2557 มาบังคับใช้ให้เกิดการปฏิบัติอย่างจริงจัง 3.ฟื้นฟูและบำบัดเหตุการณ์ ที่เกิดขึ้นอย่างเป็นระบบในด้าน ต่างๆ เช่น สิ่งแวดล้อม, ทรัพยา กรธรรมชาติ, สุขภาพ และสังคม
          นอกจากนี้ 4.สร้างระบบการ ชดเชยเยียวยาอย่างเป็นระบบ เป็นธรรม และยั่งยืน ต่อผู้ได้รับผลกระ ทบทุกกลุ่ม เช่น สวัสดิการแก่ผู้เสียหายโดยตรง ผู้ได้รับผลกระทบทาง อ้อม กลุ่มอาชีพต่างๆ เช่น ประมง พื้นบ้าน 5.ดำเนินคดีทางกฎหมาย ต่อหน่วยงานที่กระทำผิดฐานละเลย 6.จัดทำประกาศผังเมืองรวม อย่างมีประสิทธิภาพ 7.ทำบัญชีการถือ ครองวัตถุอันตราย บัญชีการระบาย มลพิษ และแจ้งข้อมูลให้ประชาชน หน่วยงานสาธารณสุขรับทราบ 8. ทบทวน ระงับนโยบายการลงทุนอุตสาหกรรมปิโตรเคมี ทั้งในนิคมและนอกนิคม อาทิ จ.ระยอง และ จ.ชลบุรี และ 9.เปิดเผยรายชื่อคณะกรรมการไตรภาคีที่จะทำการตรวจสอบโรงงานทั้งหมดต่อสาธารณะ
          "นอกจาก 9 ข้อเรียกร้องดังกล่าวแล้ว ทางกลุ่มจะมีการเคลื่อนไหวต่อโดยในวันที่ 12 พ.ค. นี้ เวลา 09.00 น. ทางกลุ่มจะยื่นหนังสือต่อผู้ว่าการนิคมอุตสาหกรรมฯ (กนอ.) จากนั้นจะร่วมกันปลูกต้นกล้วยหน้าสำนักงานนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด เนื่องจากที่ผ่านมากลุ่มชาวบ้านเคยเรียกร้องให้มีการปลูกต้นไม้เพื่อเป็นเขตbumper  zone (พื้นที่กันชน) แต่ไม่มีการดำเนินการใดๆ เลย จึงมาแสดงให้เห็นว่าการปลูกต้นไม้ไม่น่าจะยุ่งยาก และหลังจากนั้นจะเดินทางไปแจ้งความดำเนินคดีทั้งอาญาและแพ่งกับ กนอ., บอร์ดของ บ.บีและแพ่งกับ กนอ., บอร์ดของ บ.บีเอสทีฯ และบอร์ดของ บ.อดิตยาฯ ที่ สภ.มาบตาพุด" นายสุทธิกล่าว
          แกนนำเครือข่ายประชาชนภาคตะวันออกกล่าวว่า ในวันที่ 15 พ.ค.จะเดินทางเข้า กทม.เพื่อยื่นหนังสือร้องเรียนต่อนายกรัฐมนตรีที่ทำ เนียบรัฐบาล, นายสุรชัย เลี้ยงบุญเลิศชัย คณะกรรมาธิการสิ่งแวดล้อม วุฒิสภา, กทม., องค์กรอิสระด้านสิ่ง แวดล้อมและสุขภาพ และนายแพทย์ นิรันดร์ พิทักษ์วัชระ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ.


pageview  1205014    
สำนักงานพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ Health Information System Development Office (HISO)
ห้อง A3 ชั้น 3 อาคาร 4Plus Buiding เลขที่ 56/22-24 ซอยงามวงศ์วาน 4 ต.บางเขน อ.เมือง จ.นนทบุรี 11000
Tel : 02-5892490-2 Fax : 02-5892493 www.healthinfo.in.th
 
© Health Information System Development Office (HISO) . All Rights Reserved