HISO-สำนักงานพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ


หน้าแรก

 
  

 



สุขภาพคนไทย 2551
( อ่านรายงานทั้งหมด )

 



ThaiHealth 2008
( อ่านรายงานทั้งหมด )

 



การสาธารณสุขไทย 2548 - 2550
( อ่านรายงานทั้งหมด )

 



สุขภาพคนไทย 2550
( อ่านรายงานทั้งหมด )

 



ThaiHealth 2006
( อ่านรายงานทั้งหมด )

 



สุขภาพคนไทย 2549
( อ่านรายงานทั้งหมด )

 



ThaiHealth 2006
( อ่านรายงานทั้งหมด )

 



สุขภาพคนไทย 2548
( อ่านรายงานทั้งหมด )

 



ThaiHealth 2005
( อ่านรายงานทั้งหมด )

 



การสาธารณสุขไทย
2544 - 2547
( อ่านรายงานทั้งหมด )

 



Thailand Health Profile
2001 - 2004
( อ่านรายงานทั้งหมด )

 



การสำรวจสภาวะสุขภาพอนามัยของ
ประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกาย
ครั้งที่ 3 พ.ศ. 2546 - 2547
( อ่านรายงานทั้งหมด )

 



สถานการณ์การแพทย์แผนไทย
การแพทย์พื้นบ้านและการแพทย์
ทางเลือก ประจำปี พ.ศ. 2548 - 2550
( อ่านรายงานทั้งหมด )

 









 ก้าวใหม่กับ hiso
 




เครื่องมือสารสนเทศอุบัติเหตุ





            เครื่องมือสารสนเทศอุบัติเหตุ เป็นเครื่องมือต้นแบบ (Prototype) เพื่อสนองตอบความต้องการด้านสารสนเทศอุบัติเหตุจราจรระดับจังหวัด ภายใต้ชื่อ Provincial Road Safety Management System (PRSS) ที่ประกอบด้วยเครื่องมือ Data mining และ GIS เป็นต้น



ความเป็นมา

                การพัฒนาเครื่องมือสารสนเทศอุบัติเหตุ เป็นส่วนหนึ่งของการวิจัยและพัฒนาศักยภาพของระบบสารสนเทศอุบัติเหตุจราจร ดำเนินการโดยคณะวิจัยจากสถาบัน AIT โดยได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ เพื่อพัฒนาระบบสารสน
เทศที่ตอบสนองความต้องการด้านสารสนเทศอุบัติเหตุจราจรระดับจังหวัด โดยเครื่องมือดังกล่าว ประกอบด้วย

         1. เครื่องมือนำเข้าและเชื่อมโยงข้อมูลอุบัติเหตุจราจร
         2. เครื่องมือวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูลอุบัติเหตุจราจร (Data mining)
         3. แผนที่จุดเสี่ยงอันตรายบนระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ (GIS)
         4. ระบบข้อมูลสำหรับผู้เชี่ยวชาญเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ (Decision support)

                ระบบการบริหารจัดการความปลอดภัยทางถนนระดับจังหวัด (Provincial Road 
Safety Management System: PRSS) พัฒนาขึ้นเพื่อบริหารจัดการข้อมูลด้านอุบัติเหตุจราจร ที่ได้มาจากข้อมูลทุติยภูมิ จากฐานข้อมูลหลัก ได้แก่ ฐานข้อมูลการเฝ้าระวังการบาดเจ็บของโรงพยาบาล ฐานข้อมูลอุบัติเหตุจากกรมทางหลวง และฐานข้อมูลอุบัติเหตุจากตำรวจ โดยการออกแบบระบบ PRSS นี้ ได้คำนึงถึงการใช้งานจริง โดยมีหลักการในการพัฒนาดังนี้

         - การใช้งานง่าย (Friendly Graphical User Interface)
         - ต้นทุนการผลิตและใช้งานไม่สูงนัก (Low cost)
         - เข้ากันได้กับระบบปฏิบัติการในคอมพิวเตอร์ทั่วไป (Compatibility)
         - สามารถนำไปปรับใช้ได้กับจังหวัดต่างๆ (Replicability)
         - การพัฒนาระบบที่มีพื้นฐานมาจากการศึกษาวิจัย (Research-based development)





ภาพที่ 1 แสดงการทำงานโปรแกรมระบบบริหารจัดการ
ความปลอดภัยทางถนนระดับจังหวัด(PRSS)





ภาพที่ 2 แสดงการทำงานโปรแกรมระบบบริหารจัดการ
ความปลอดภัยทางถนนระดับจังหวัด(PRSS)


 สไลด์นำเสนอ โครงการวิจัยและพัฒนาศักยภาพของสารสนเทศ ด้านอุบัติเหตุ
 เอกสารความก้าวหน้า โครงการวิจัยและพัฒนาศักยภาพของสารสนเทศ ด้านอุบัติเหตุ
 Download โปรแกรมระบบบริหารจัดการความปลอดภัยทางถนนระดับจังหวัด
     (Prouincial Road Safety Management System ; PRSS)







 กลับสู่ด้านบน
 













หน้าแรก | เกี่ยวกับแผนงาน | เครือข่ายและกิจกรรม | ผลผลิตและรายงาน | ข้อมูลสถิติ | การจัดการความรู้ | หน่วยงาน | ติดต่อแผนงาน | เจ้าหน้าที่ดูแลระบบ
แนะนำแผนงาน | ข่าวกิจกรรม | เกาะติดกิจกรรมเด่น | หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง | ผลผลิตและรายงาน| รายงานสุขภาพ| ก้าวใหม่กับ HISO | สถานการณ์สุขภาพประเทศไทย
การวิเคราะห์สถานการณ์สุขภาพ | สถานการณ์ข่าวสุขภาพ | เรื่องเล่าข่าวสุขภาพ | สื่อข้อมูลสุขภาพ | แบบสำรวจสุขภาพ | webbord | คำถามที่พบบ่อย | สมุดเยี่ยมชม | บริการข้อมูล